KMITL Innovation Expo 2025 Logo

เซนเซอร์ตรวจวัดสารซาลบูทามอลทางเคมีไฟฟ้าโดยใช้เทคนิคพอลิเมอร์ลอกแบบโมเลกุลร่วมกับวัสดุนาโนคอมพอสิตคอปเปอร์ออกไซด์และกราฟิติกคาร์บอนไนไตรด์

รายละเอียด

การใช้เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าร่วมกับแสงเพื่อตรวจวัดสารเร่งเนื้อแดงที่มีชื่อว่า "ซาลบูทามอล(Salbutamol)" โดยอาศัยเทคนิคพอลิเมอร์ลอกแบบโมเลกุลในการตรวจวัดร่วมกับวัสดุนาโนคอมพอสิตคอปเปอร์ออกไซด์และกราฟิติกคาร์บอนไนไตรด์(CuO/g-C₃N₄ Nanocomposite) ในการเพิ่มประสิทธิภาพของเซนเซอร์

วัตถุประสงค์

ความปลอดภัยทางด้านอาหารเป็นหนึ่งปัจจัยที่มีผลสำคัญต่อสุขภาพและการดำเนินชีวิตประจำวัน เนื่องมาจากปัญหาการปนเปื้อนของสารเคมีในอาหารซึ่งก่อให้เกิดปัญหาตามมา อาทิเช่น อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ผลข้างเคียงหรือโรคที่เกี่ยวกับทางเดินอาหาร ไปจนถึงทำให้เสียชีวิตได้ สารซาลบูทามอลเป็นสารที่หาซื้อได้ง่ายเนื่องจากเป็นยาที่ถูกใช้กับผู้ที่เป็นโรคหอบหืดหรือโรคที่เกี่ยวกับระบบหายใจเรื้อรัง โดยสารชนิดนี้ถูกใช้ในทางที่ผิด เช่น การโดปของนักกีฬาหรือเพื่อการเร่งเนื้อแดงในสัตว์ได้

นวัตกรรมอื่น ๆ

เพาะเลี้ยงหอยแอปเปิลสีทองและไข่ผำด้วยระบบน้ำวน พื้นที่น้อย ทำได้จริง สร้างรายได้

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

เพาะเลี้ยงหอยแอปเปิลสีทองและไข่ผำด้วยระบบน้ำวน พื้นที่น้อย ทำได้จริง สร้างรายได้

การสร้างระบบเลี้ยงและบำบัดน้ำไปในตัวโดยใช้รูปแบบFlow water system โดยข้อจำกัดคือเพาะเลี้ยงในพื้นที่เล็กๆแต่ได้ผลจริง

สัมผัสใหม่แห่งการดูแลมือ ครีมบำรุงจากต้นแก้ว

คณะวิทยาศาสตร์

สัมผัสใหม่แห่งการดูแลมือ ครีมบำรุงจากต้นแก้ว

การพัฒนาครีมบำรุงมือจากสารสกัดต้นแก้ว ด้วยกระบวนการสกัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการสกัดสารสำคัญจากต้นแก้วโดยใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย ซึ่งเป็นวิธีที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สารสกัดที่ได้มีคุณสมบัติเด่นในการต้านแบคทีเรียและต้านอนุมูลอิสาระ และถูกนำไปพัฒนาเป็นส่วนผสมของครีมบำรุงมือ

อิทธิพลของความเค็มต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าว

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

อิทธิพลของความเค็มต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าว

-