KMITL Innovation Expo 2025 Logo

THE DEVELOPMENT OF LEARNING ACHIEVEMENT THE USE OF THE INTEGRATED FARMING SYSTEM BOARD GAME FOR THIRD-YEAR VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENTS AT RATCHABURI COLLEGE OF AGRICULTURE AND TECHNOLOGY

Abstract

This study aims to develop a board game for teaching Integrated Farming System and to examine the learning achievement of third-year vocational certificate students at Ratchaburi College of Agriculture and Technology who used the board game as a learning tool. The research instruments included a board game developed using the Educational Boardgame Design Canvas. The board game is a strategic planning game consisting of five game boards, and 166 cards categorized into four types: 30 event cards, 60 special action cards, 16 character cards, and 60 production cards. It also includes 180 resource tokens of six kinds: 60 water tokens, 60 soil tokens, 45 plant product tokens, 45 animal product tokens, 45 aquatic product tokens, and 45 currency tokens. Additional components include one die and five player aid sheets. The game emphasizes planning and decision-making in integrated farming to maximize production and achievement points under game conditions and simulated scenarios. Research tools also included pre-and post-tests and a satisfaction questionnaire. The results indicated that students’ average scores significantly increased at the .05 level after using the board game, with the average pre-test score at 6.54 and the post-test score rising to 17.71. Additionally, an analysis of student satisfaction with board game-based learning revealed a high level of satisfaction (mean score = 4.45). The highest-rated aspects were the teacher’s implementation of post-tests (mean score = 4.69) and the engaging and diverse teaching methods used (mean score = 4.66).

Objective

ในปัจจุบันปัญญาประดิษฐ์ (AI) กำลังแพร่หลายมากขึ้นในหลายภาคส่วน รวมถึงการศึกษา แอปพลิเคชัน AI กำลังกลายเป็นสิ่งสำคัญสำหรับวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ส่วนบุคคล การประเมินด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบการศึกษาอัจฉริยะ หรือการสนับสนุนคณาจารย์ผู้สอน แอปพลิเคชันเหล่านี้ให้การสนับสนุนที่ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายลดลงและผลการเรียนรู้ดีขึ้น Chatbots เป็นแอปพลิเคชันซอฟต์แวร์ที่ขับเคลื่อนด้วย AI ซึ่งสามารถเลียนแบบการโต้ตอบการสนทนาของมนุษย์ได้ พวกมันทำงานโดยการประเมินบริบทของการสนทนาและหาคำตอบที่คิดว่าเหมาะสม พวกมันสามารถตอบคำถามต่างๆ ได้ เนื่องจากได้รับการสอนโดยใช้ชุดข้อมูลทางภาษาขนาดใหญ่ องค์กรการศึกษามากมาย ตั้งแต่โรงเรียนประถมและมัธยมศึกษาไปจนถึงมหาวิทยาลัยและโปรแกรมพัฒนาวิชาชีพ สามารถได้รับประโยชน์จากการใช้แชทบอท เช่น ChatGPT และ Google Bard ในการศึกษา นักเรียนอาจพึ่งพาเทคโนโลยีมากเกินไป ซึ่งอาจขัดขวางทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา นอกจากนี้ ยังมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อมูลที่ผิดพลาดและเกิดการลอกเลียนแบบหรือโกง (Gill, et al., 2024: 19-23) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 เน้นให้ผู้สอนจัด การศึกษาโดยผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนั้น วิธีการจัดการเรียนรูในปัจจุบันจึงควรปรับไปตาม แนวการจัดการศึกษาดังกล่าว โดยนําเอาแนวคิดของการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) มาปรับใช้เพื่อให้ผู้เรียนมีบทบาทสำคัญในกระบวนการเรียนรู้ เป็นผู้ลงมือกระทำด้วยตนเองหรือมีส่วน ร่วมในการเรียนรู้อย่างตื่นตัว ผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้างความรู้ใหม่ด้วยตนเอง ได้ใช้ความรู้และทักษะผ่าน การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ผู้สอนทำหน้าที่เป็นผู้อํานวยความสะดวกสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสภาพจริง (วัชรพล วิบูลยศริน, 2561) ซึ่งวิธีการสอนโดยการใช้เกมจัดได้ว่าเป็นการสอนในรูปแบบการสอนเชิงรุก (Active Learning) อย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด วิธีการสอนโดยใช้เกมนี้เป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องต่าง ๆ อย่าง สนุกสนานและท้าทายความสามารถ โดยผู้เรียนเป็นผู้เล่นเกมเอง ซึ่งเป็นการจําลองสถานการณ์ทำให้ ได้รับประสบการณ์ตรงเป็นวิธีการการที่เปิดโอกาสใหผู้เรียนมีส่วนร่วมสูง ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนเรียนเล่นตามกฎกติกาและนําเนื้อหา และข้อมูลของเกม พฤติกรรมการเล่น วิธีการเล่น และผลการเล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการอภิปรายเพื่อสรุปการเรียนรู้ (ทิศนา แขมมณี, 2552) การนำบอร์ดเกมมาใช้ร่วมกับการเรียนการสอนนั้น จะสามารถให้ทั้งความสนุก การลุ้นอย่างตื่นเต้น และการเพิ่มพูนทักษะต่าง ๆ รอบด้านได้เป็นอย่างดี ทั้งยังผสานความสัมพันธ์กันภายในชั้นเรียนปรับปรุงและเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และให้การตัดสินใจร่วมกัน สร้างแรงจูงใจของผู้เข้าร่วม และส่งเสริมการเรียนรู้ การค้นพบนี้ชี้ให้เห็นว่าบอร์ดเกมเป็นการแก้ปัญหาทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพสำหรับกระบวนการ เรียนรู้ต่างๆ ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก และคณะ (2564 : 12) ในการจัดการเรียนการสอนวิชาการเกษตรผสมผสานพบว่านักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีราชบุรี พบว่าในกายรทำงานและการทำแบบฝึกหัดนักเรียนส่วนใหญ่มักจะใช้ Chat GPT ในการค้นหาข้อมูลทำให้ในบางครั้งนักเรียนจะได้รับข้อมูลเนื้อหาที่ไม่ตรงกับที่สอนและเกิดความสับสนในการเรียน ไม่สามารถเข้าใจบทเรียนการเรียนการสอนที่ผ่านมา ที่มีเนื้อหาในการเลือกทำการเกษตรผสมผสาน และผู้เรียนขาดความกระตือรือร้นและความสนใจในการเรียนในภาคทฤษฎี เนื่องจากในการทำงานและปฏิบัติงานต่างๆ นักเรียนพึ่งพาเทคโนโลยีมากเกินไป และขาดกระบวนการวิเคราะห์ ดังนั้นผู้วิจัยจึงทำการวิจัยนี้ขึ้นมาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการใช้บอร์ดเกมในรายวิชาการเกษตรผสมผสาน

Other Innovations

Artificial intelligence of things system for monitoring and controlling irrigation using weather information

วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์

Artificial intelligence of things system for monitoring and controlling irrigation using weather information

This research focuses on the design and development of a prototype Artificial Intelligence of Things (AIoT) system for monitoring and controlling irrigation using weather information. The system consists of four main components: 1) Weather Station – This component includes various sensors such as air temperature, relative humidity, wind speed, and sunlight duration, among others, to collect real-time weather data. 2) Controller Unit – This unit is equipped with machine learning algorithms or models to estimate the reference evapotranspiration (ETo) and calculate the plant’s water requirement by integrating the crop coefficient (Kc) with other plant-related data. This enables the system to determine the optimal irrigation amount based on plant needs automatically. 3) User Interface (UI) and Display – This section allows farmers or users to input relevant information, such as plant type, soil type, irrigation system type, number of water emitters, planting distance, and growth stages. It also provides a display for monitoring and interaction with the system. 4) Irrigation Unit – This component is responsible for controlling the water supply and managing the irrigation emitters to ensure efficient water distribution based on the calculated requirements.

Read more
Innovation in commercial vertical set of golden apple snails  as environmentally friendly using an aquaponics system

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

Innovation in commercial vertical set of golden apple snails as environmentally friendly using an aquaponics system

The innovation of the vertical aquaponics system for rearing golden apple snails integrating with vegetable cultivation by using substrates to water treatment. The system aims to maximize the use of vertical space, save water, and produce safe vegetables for consumption or commercial purposes, and to support living things. The golden apple snail excretes wastes/leftover food scraps that are filtered on the substrates used for water treatment. Meanwhile, natural bacteria help change these wastes into nutrients that plants can use. Therefore, the system is environmentally friendly.

Read more
The Development of Hand Gesture Recognition for Controlling Electronic Devices

คณะวิทยาศาสตร์

The Development of Hand Gesture Recognition for Controlling Electronic Devices

This research will begin with a review of literature and related studies to examine existing technologies and methods for hand gesture recognition and their applications in controlling electronic devices such as drones, robots, and gaming systems. Subsequently, a hand gesture recognition system will be designed and developed using machine learning and computer vision techniques, with a focus on creating an algorithm that operates quickly and accurately, making it suitable for real-time control. The developed system will be tested and refined using various simulated scenarios to evaluate its efficiency and accuracy in diverse environments. Additionally, a user-friendly interface will be developed to ensure accessibility for all user groups. The research will also incorporate qualitative studies to gather feedback from both novice users and experts, which will contribute to further system improvements, ensuring it effectively meets user needs. Ultimately, the findings of this research will lead to the development of a functional prototype for gesture-based control, which can be applied in industries and entertainment. This will contribute to advancements in innovation and new technologies in the future.

Read more