The Water Hyacinth Removal Electric Smart Boat is a small, streamlined boat capable of working in any area. Even small areas with a lot of water hyacinth volumes with advanced technology that the researcher has created and designed. The structure of the boat is made of aluminum material, is 4.80 meters long and 1.20 meters wide, and is powered by a diesel engine 14 hp. Reinforcing drive in tandem with spinning, chopping weeds and the ability to remove water hyacinths by spinning 3-5 per day with only one operator on boat. Therefore, the control and removal of water hyacinths by smart boat works better than conventional mechanization. It can work quickly and at a low cost. This water hyacinth removal electric smart boat concept will be built on the original system.
ผักตบชวาจัดเป็นพืชน้ำชนิดหนึ่งที่มีการแพร่กระจายและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในแหล่งน้ำของประเทศไทย ยิ่งนับวันปัญหาความหนาแน่นของผักตบชวาในแหล่งน้ำยิ่งทวีความสำคัญกลายเป็นปัญหาระดับชาติ สาเหตุที่ทำให้ผักตบชวาเพิ่มความหนาแน่นขึ้นอย่างน่ากลัวนี้มาจากคุณสมบัติการดูดซับธาตุอาหารได้ดี การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของผักตบชวาเมื่อมารวมกับปัญหาการที่แหล่งน้ำมีความอุดมสมบูรณ์จากธาตุอาหารที่มากเกินไปจึงทำให้ผักตบชวาไม่มีปัจจัยจำกัด การพัฒนานวัตกรรมการจัดการการกำจัดผักตบชวานี้มีการนำเทคนิคการทำแห้งแบบพ่นฝอย (Spray drying) มาใช้ในกระบวนการผลิตสารควบคุมผักตบชวาจากพืชสมุนไพร จะช่วยทำให้ความชื้นระเหยเป็นไอน้ำจนได้อนุภาคของสารสกัดเป็นผงแห้งซึ่งอยู่ในรูปแบบที่ง่ายต่อการนำไปใช้ นอกจากนี้ยังทำให้สารที่มีประสิทธิภาพคงเดิม ช่วยยืดอายุสาร ซึ่งในปัจจุบันการใช้สารควบคุมและกำจัดวัชพืชต่างๆ นอกจากจะให้ความสำคัญในเรื่องประสิทธิภาพในการกำจัดแล้ว เรื่องความปลอดภัยทั้งต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศก็เป็นอีกเรื่องที่คนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ยังทำให้สารที่มีประสิทธิภาพคงเดิม ช่วยยืดอายุสารสำคัญ และมีความปลอดภัยต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ขั้นตอนในกระบวนการจัดการ คือการฉีดพ่นสารสกัดเป็นละอองฝอยบนใบผักตบชวาให้เปียกชุ่มเพื่อให้สารเคลือบใบไม่ให้มีการสังเคราะห์แสง ขั้นตอนที่ 2 เว้นระยเวลา 5-7 วันทำการฉีดพ่นครั้งที่สองเพื่อเป็นการกำจัดลูกหรือต้นผักตบชวาที่เกิดขึ้นใหม่ในชั้นล่างของลำต้น ขั้นตอนที่ 3 เว้นระยะการฉีดพ่น 5-7 วัน ทำการฉีดพ่นครั้งที่สามเพื่อกำจัดเหง้าและไหล ในระหว่างนี้ก็จะฉีดพ่นสารช่วยย่อยสลายและบำบัดน้ำ เมื่อผักตบชวาตายหมดแล้วก็เข้าสู่กระบวนการย่อยสลาย ซึ่งสารสกัดจะสามารถช่วยย่อยได้เองตามธรรมชาติไม่ก่อให้เกิดการเน่าของซากพืช บวกกับการใช้เเรืออัจฉริยะไฟฟ้าซึ่งเป็นเรือสับย่อยมาช่วยในการปั่นสับหลังวัชพืชตายแล้ว จะทำให้ผักตบชวานั้นย่อยสลายได้รวดเร็ว ซึ่งกระบวนดังกล่าวทำให้ระบบการจัดการการกำจัดผักตบชวามีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม
คณะวิทยาศาสตร์
Currently, climate change and human activities are causing rapid deterioration of coral reefs worldwide. Monitoring coral health is essential for marine ecosystem conservation. This project focuses on developing an Artificial Intelligence (AI) model to classify coral health into four categories: Healthy, Bleached, Pale, and Dead using Deep Learning techniques. With pre-trained convolutional neural network (CNN) for image classification. To improve accuracy and mitigate overfitting, 5-fold Cross-Validation is employed during training, and the best-performing model is saved. The results of this project can be applied to monitor coral reef conditions and assist marine scientists in analyzing coral health more efficiently and accurately. This contributes to better conservation planning for marine ecosystems in the future.
คณะบริหารธุรกิจ
CO Breathalyzer with Voice Response is the device to measured the level of CO residual in a person's lung who consume tobacco. Measuring residual CO in human breath can identify the tobacco addiction level instead of measuring nicotine in blood.
คณะแพทยศาสตร์
Migraine, a prevalent neurological disorder, is the third most common disease globally, causing significant health and financial burdens. It has four stages: prodrome, aura, headache, and postdrome. The prodrome (also known as premonitory) stage is crucial as it precedes the headache by up to 72 hours. Taking medication during the premonitory peroid has shown to prevent the headache phase . However, the symptoms of premonitory period lack specificity, making it difficult for patients to know if they’re experiencing premonitory symptoms. Calcitonin-gene related peptide (cGRP),is a protein that plays a key role in migraine pathogenesis and studies found that salivary cGRP levels increase during the premonitory stage. This study aims to develop and evaluate a lateral flow immunoassay kit for detecting salivary cGRP levels in migraine patients during the prodrome stage. It can serve as a confirmation tool for premonitory symptoms.