This study aimed to develop a website for collecting and organizing data on Young Smart Farmers in Chanthaburi Province. Data were collected through structured interviews with a sample of 30 participants. The information obtained was categorized and utilized to develop the website, which was subsequently disseminated to farmers and other stakeholders. The study also assessed user satisfaction with the website through a questionnaire, with data analyzed using descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, and standard deviation.The results indicated that the sample comprised an equal proportion of male and female participants, with the majority (50.00%) aged between 36 and 40 years. Most respondents were Young Smart Farmers from the districts of Khlung, Laem Sing, and Kaeng Hang Maeo, each representing 13.33% of the sample. The majority of participants had attained a bachelor’s degree or equivalent (60.00%) and were primarily engaged in agricultural occupations (73.33%). The findings on user satisfaction with the website revealed a high level of satisfaction across all dimensions, ranked as follows 1) Website usability (Mean 4.97), 2) Overall satisfaction (Mean 4.93), 3) Content quality (Mean 4.91), 4) Practical benefits and applicability (Mean 4.87), and 5) Design and layout (Mean 4.85).
ภาคการเกษตรมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศไทย จากรายงานพบว่า ในปี 2566 ประเทศไทยได้ส่งออกสินค้าเกษตรมูลค่ากว่า 284,561.80 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็น 17.30% ของรายการสินค้าส่งออกทั้งหมด (Office of Trade Policy and Strategy, 2024) ประเทศไทยมีพื้นที่เกษตรกรรม 149.25 ล้านไร่ คิดเป็น 32.60% ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งสร้างงานและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและผู้ประกอบการ อีกทั้งมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ อย่างไรก็ตามปัจจุบันภาคการเกษตรของไทยต้องเผชิญปัญหาหลากหลายรูปแบบ หนึ่งในนั้นคือ เกษตรไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นในการทำการเกษตร (Ministry of Agriculture and Cooperatives, 2017) ทำให้เกษตรกรขาดความรู้ในการพัฒนาการผลิต ขาดความรู้ทางช่องทางการตลาด การสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร และปัญหาคนรุ่นใหม่ที่สนใจการทำเกษตรน้อยลง ส่งผลให้แรงงานภาคการเกษตรลดน้อยลง จากข้อมูลจากการสำมะโนการเกษตร พบว่าผู้ถือครองทำการเกษตรส่วนใหญ่มีอายุตั้งแต่ 35.00 ปีขึ้นไป และผู้ถือครองในช่วงอายุ 35.00-44.00 ปี มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ 26.80 ในปี 2546 เป็นร้อยละ 18.40 ในปี 2556 ส่วนในกลุ่มผู้สูงอายุ 65.00 ปีขึ้นไป กลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 13.10 เป็นร้อยละ 18.50 ในปี 2556 (National Farmers Council, 2018) กรมส่งเสริมการเกษตรจึงมีแนวทางในการแก้ไขปัญหาโดยได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) และแผนปฏิบัติงาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564) เพื่อเป็นการวางรากฐานการพัฒนาระยะยาวอันนำไปสู่การพัฒนาและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ กรมส่งเสริมการเกษตรจึงมีการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อส่งเสริมความมั่นคงในอาชีพของเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร โดยการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2557 มีเป้าหมายหลักในการพัฒนาเกษตรกรให้มีความสามารถด้านการเกษตร ทดแทนเกษตรกรผู้สูงอายุและสร้างแรงจูงใจให้คนรุ่นใหม่หันมาประกอบอาชีพ 2 เกษตรกรรม (Department of Agricultural Extension, 2017) โดยการขับเคลื่อนพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ในปี 2564 โดยใช้งบประมาณ 15.16 ล้านบาท และได้กำหนดการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ในปี 2565 โดยใช้งบประมาณ 21.39 ล้านบาท (Office of the Secretary of the Department of Agricultural Extension, 2020) ซึ่งปัจจุบันมีเกษตรกรรุ่นใหม่เข้าร่วมโครงการและผ่านการประเมินเป็น Young Smart Farmer ทั่วประเทศ จำนวน 23,411 ราย (Khao Khitchakut District Agriculture Office Chanthaburi Province, 2023) ซึ่งในจังหวัดจันทบุรีมี Young Smart Farmer ที่มีความสามารถและความรู้ในด้านต่างๆ ที่ไม่เพียงแต่มีทักษะในการทำการเกษตรเท่านั้น แต่ยังได้รับการยอมรับจากทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับประเทศ เนื่องจากการทำงานที่มีความตั้งใจในการสร้างความยั่งยืนให้กับการเกษตรในท้องถิ่น Young Smart Farmer หลายรายได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง และเป็นสินค้าที่มีเอกลักษณ์ของตนเอง เช่น ผลไม้ที่ปลูกด้วยวิธีการเกษตรอินทรีย์หรือผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปทางการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในตลาด แต่สิ่งที่ยังขาดอยู่ในขณะนี้คือการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของ Young Smart Farmer แต่ละรายเข้าด้วยกัน เนื่องจากเกษตรกรแต่ละรายต่างก็มีการดำเนินงานและพัฒนาผลผลิตของตนเองอย่างเป็นอิสระและแยกจากกัน โดยไม่มีการเชื่อมโยงหรือแบ่งปันข้อมูลในระดับกว้าง จากสภาพปัญหาและประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าว การมีแพลตฟอร์มกลางหรือฐานข้อมูลที่รวบรวมข้อมูลของ Young Smart Farmer ในจังหวัดจันทบุรีจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อให้เกษตรกรได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้พัฒนาเว็บไซต์ Young Smart Farmer Chanthaburi ขึ้นมาเพื่อรวบรวมและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเกษตรกร Young Smart Farmer จังหวัดจันทบุรี เพื่อให้การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับ Young Smart Farmer จังหวัดจันทบุรี เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งเว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบในการนำไปพัฒนาเว็บไซต์ในการส่งเสริมกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่อื่น ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรและงานส่งเสริมการเกษตรต่อไปในอนาคต
คณะวิทยาศาสตร์
In today’s rapidly expanding e-commerce environment, the massive volume of product reviews makes it crucial to summarize user opinions in a way that is both comprehensible and practically applicable. This research presents a system for analyzing product reviews using Aspect-Based Sentiment Analysis (ABSA), a Natural Language Processing (NLP) technique that identifies key aspects of a review (such as shipping, product quality, and packaging) and evaluates the sentiment (positive, negative, or neutral) associated with each aspect, allowing both consumers and merchants to gain more efficient access to in-depth insights. This project focuses on developing AI for Thai-language ABSA by utilizing WangchanBERTa, a model trained on Thai data, and comparing it with various standard approaches such as TF-IDF + Logistic Regression, Word2Vec + BiLSTM, and Multilingual BERT (mBERT/XLM-R) to assess their performance in terms of accuracy, speed, and resource usage. Additionally, a dashboard visualization is provided to help users quickly grasp review trends. The expected outcome is to create an AI tool that can be practically employed in the e-commerce industry, enabling consumers to make easier purchasing decisions and assisting merchants in effectively improving their products and services.
คณะวิทยาศาสตร์
Microalgae are rich in bioactive compounds that may contribute to the growth of probiotics, which require appropriate nutrients, known as prebiotics, to thrive. This study aims to evaluate the effectiveness of crude extracts from intracellular components residues of the microalga Chlorella sp. KLSc61 in promoting the growth of the probiotic bacterium Lactiplantibacillus plantarum JCM1149 under simulated gastrointestinal conditions. The intracellular extracts were obtained using 70% (v/v) ethanol, and their effects on probiotic growth were tested at concentrations of 0.1%, 0.75% and 1.5%. The growth of Lactiplantibacillus plantarum JCM1149 was assessed using the drop plate method. The findings of this study will provide insights into the potential of Chlorella sp. KLSc61 extracts in enhancing probiotic growth, which could lead to the development of synbiotic dietary supplements containing both probiotics and prebiotics. Additionally, this study may serve as a foundation for further research on the role of microalgal extracts in gut health and immune system modulation.
คณะศิลปศาสตร์
The Herby gel are products developed to relieve stress and headaches, which often result from heavy work, a fast-paced lifestyle, or hot and humid weather. The patches are made from natural ingredients such as peppermint, neem leaves, gotu kola, aloe vera, and other herbs that effectively alleviate these symptoms. Free from alcohol, this product is safe to use and provides a cooling, soothing, and refreshing effect on the skin. It is easy to use, convenient to carry, and suitable for use in any situation, making it a practical solution for everyday discomfort.