During this cooperative education program at the Bang Bo District Agricultural Office, Samut Prakan Province, a study was conducted on the costs and returns of rice cultivation using chemical inputs compared to using biopesticides in combination with chemical inputs among farmers in Bang Phli Noi Subdistrict, Bang Bo District, Samut Prakan Province.The objectives of this study were: To examine the costs and returns of rice cultivation using chemical inputs compared to using biopesticides in combination with chemical inputs among farmers in Bang Phli Noi Subdistrict, Bang Bo District, Samut Prakan Province. To explore the challenges of using biopesticides in rice cultivation among farmers in Bang Phli Noi Subdistrict, Bang Bo District, Samut Prakan Province. The study found that in the 2024/25 growing season, the total production cost for rice cultivation using biopesticides in combination with chemical inputs was 5,099.50 THB per rai, consisting of variable costs of 4,432.50 THB per rai and fixed costs of 667.00 THB per rai. Meanwhile, the total production cost for rice cultivation using only chemical inputs was 5,129.00 THB per rai, consisting of variable costs of 4,390.00 THB per rai and fixed costs of 739.00 THB per rai. The cost difference between the two methods was 114.50 THB per rai. Regarding the returns on rice cultivation in the 2024/25 growing season, the field using biopesticides in combination with chemical inputs yielded 1,000.00 kilograms per rai, with an average selling price of 8,500.00 THB per rai. Farmers earned a total revenue of 8,585.00 THB per rai and a profit of 3,485.50 THB per rai. On the other hand, the field using only chemical inputs yielded 1,000.00 kilograms per rai, with an average selling price of 8,500.00 THB per rai. Farmers earned a total revenue of 8,500.00 THB per rai and a profit of 3,371.00 THB per rai. The total income difference between the two cultivation methods was 114.50 THB per rai. In terms of challenges related to the procurement of biopesticides, it was found that biopesticides are difficult to obtain, with limited or no availability in certain areas. Additionally, relevant agencies do not provide continuous support for biopesticides, making this the most significant issue. Regarding the use of biopesticides, the most critical challenge is that once fresh biopesticides are mixed, they must be used immediately and cannot be stored, as their effectiveness deteriorates over time.
ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่สร้างรายได้ให้แก่ประเทศไทย แนวโน้มความต้องการข้าว ในตลาดโลกที่สูงขึ้น โดยในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคมของปี 2567 ประเทศไทยส่งออกข้าวกว่า 4.6 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.18 มูลค่าการส่งออกกว่า 106 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 64.59 จากปี 2566 (สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, 2567) ส่งผลการผลิตข้าวของไทยเปลี่ยนแปลงไปสู่การผลิต เพื่อการค้ามากยิ่งขึ้น เกษตรกรส่วนใหญ่มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและการใช้ปุ๋ยเคมีมากขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น การระบาดของโรคและแมลง การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพในแปลงเกษตร ปัญหาสารพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อม ต้นทุนสารเคมีและปุ๋ย ที่สูงขึ้นทำให้เกษตรกรต้องลงทุนมากขึ้น แต่ราคาผลผลิตกลับไม่สูงขึ้นตามต้นทุน ทำให้เกษตรกรขาดทุนและมีหนี้สิน อีกทั้งยังส่งผลต่อสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภคเนื่องจากสารพิษตกค้างในผลิตผลทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อม (สำนักวิจัยและพัฒนาข้าวกรมการข้าว, 2565) การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อลดต้นทุนการปลูกข้าวจะทำให้ได้ปริมาณและคุณภาพเพิ่มขึ้นโดยการลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการปลูกข้าวที่สำคัญ เน้นการลดปัจจัยการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ได้แก่ ลดการใช้ปุ๋ย ลดการใช้ยาฆ่าแมลง ลดค่าจ้างในการปลูกข้าว และลดการใช้เมล็ดพันธุ์ หนึ่งในเทคโนโลยีการลดต้นทุนการผลิตข้าว คือการใช้สารชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้สารเคมี สอดคล้องกับแนวทางของ กรมส่งเสริมการเกษตรมีการส่งเสริมการใช้ เชื้อราไตรโคเดอร์มา เชื้อราบิวเวอเรีย เชื้อราเมธาไรเซียมในการผลิตข้าวของเกษตรกร แบ่งได้เป็น การใช้เชื้อเชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคข้าวที่เกิดจากเชื้อรา การใช้เชื้อราบิวเวอเรียในการควบคุมแมลงศัตรูพืชในนาข้าวการผลิตข้าวและการใช้สารชีวภัณฑ์ในการผลิตข้าวของเกษตรกร (กรมส่งเสริมการเกษตร, กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์, 2567) การผลิตข้าวของเกษตรกรใน ตำบลบางพลีน้อย อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ จำเป็นต้องลดการใช้สารเคมีและปรับใช้สารชีวภัณฑ์เพื่อช่วยลดต้นทุน เนื่องจากสารชีวภัณฑ์สามารถใช้แทนสารเคมีในการควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชในนาข้าว อีกทั้งยังช่วยให้ดินอุดมสมบูรณ์ ลดการตกค้างของสารพิษในดิน เมื่อดินมีคุณภาพดีขึ้น ข้าวก็จะมีคุณภาพดีตามไปด้วย ซึ่งสารชีวภัณฑ์ที่แนะนำให้ใช้ ได้แก่ เชื้อรา ไตรโคเดอร์มา เชื้อราบิวเวอเรีย และเชื้อราเมธาไรเซียม การใช้สารชีวภัณฑ์เหล่านี้จะช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรในตำบลบางพลีน้อยลดการใช้สารเคมีได้ แม้ว่าในปัจจุบันยังไม่มีการใช้สารชีวภัณฑ์อย่างจริงจัง การประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการใช้สารชีวภัณฑ์จะช่วยให้เกษตรกรเห็นประโยชน์และนำไปใช้ทดแทนสารเคมีได้ (สำนักงานเกษตรอำเภอบางบ่อ, 2567) ทั้งนี้ผู้วิจัยสนใจศึกษาต้นทุน ผลตอบแทนการปลูกข้าวโดยใช้สารเคมีและการปลูกข้าวโดยใช้ สารชีวภัณฑ์ร่วมกับสารเคมีเพื่อนำผลไปให้เกษตรกรใน ตำบลบางพลีน้อย อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ได้นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัยนี้มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการเกษตรของตนเองต่อไป
วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
-
คณะแพทยศาสตร์
This study explores the application of deep convolutional neural networks (CNNs) for accurate pill identification, addressing the limitations of traditional human-based methods. Using a dataset of 1,250 images across 10 household remedy drugs, various CNN architectures, including YOLO models, were tested under different conditions. Results showed that natural lighting was optimal for imprinted pills, while a lightbox improved detection for plain pills. The YOLOv5-tiny model demonstrated the best detection accuracy, and efficientNet_b0 achieved the highest classification performance. While the model showed strong results, its generalization is limited by sample size and drug variability. Nonetheless, this approach holds promise for enhancing medication safety and reducing errors in outpatient care.
คณะวิศวกรรมศาสตร์
This project presents an interactive kiosk system designed to facilitate students, staff, and visitors within the university campus. The kiosk provides real-time event updates, news, and university document access via QR codes or email. It integrates a 3D map of the engineering department with navigation assistance, allowing users to locate offices and other facilities efficiently. Additionally, it features a room booking system, enabling users to reserve spaces through an online platform and check in via QR code scanning at the kiosk. By integrating digital technology and smart urban solutions, this system enhances accessibility, campus management, and visitor experience.