KMITL Innovation Expo 2025 Logo

Air Quality Index Prediction Using Ensemble Machine Learning Methods

Abstract

This special problem aims to study and compare the performance of predicting the air quality index (AQI) using five ensemble machine learning methods: random forest, XGBoost, CatBoost, stacking ensemble of random forest and XGBoost, and stacking ensemble of random forest, SVR, and MLP. The study uses a dataset from the Central Pollution Control Board of India (CPCB), which includes fifteen pollutants and nine meteorological variables collected between January, 2021 and December, 2023. In this study, there were 1,024,920 records. The performance is measured using three methods: root mean square error (RMSE), mean absolute error (MAE), and coefficient of determination. The study found that the random forest and XGBoost stacking ensemble had the best performance measures among the three methods, with the minimum RMSE of 0.1040, the minimum MAE of 0.0675, and the maximum of 0.8128. SHAP-based model interpretation method for five machine learning methods. All methods reached the same conclusion: the two variables that most significantly impacted the global prediction were PM2.5 and PM10, respectively.

Objective

ทั่วโลกกำลังเผชิญกับวิกฤตมลพิษทางอากาศที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ การเพิ่มขึ้นของสารมลพิษในอากาศ เช่น ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 PM10 ก๊าซโอโซน ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตของมนุษย์ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบทางลบต่อพืชและสัตว์ในระบบนิเวศอีกด้วย หลายพื้นที่ทั่วโลกเผชิญกับค่า PM2.5 เกินมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ประกาศเตือนว่า PM2.5 เป็นสารก่อมะเร็ง ส่งผลให้เกิดโรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง PM2.5 เป็นมลพิษทางอากาศที่อันตรายที่สุด ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจและเพิ่มความเสี่ยงต่อมะเร็งปอด สถิติปี 2020 มีผู้เสียชีวิตจากมะเร็งปอด 1.79 ล้านคน และคาดว่าจำนวนผู้เสียชีวิตจะเพิ่มมากขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI) เป็นตัวชี้วัดสำคัญในการประเมินคุณภาพอากาศและบ่งชี้ถึงระดับของมลพิษ โดยใช้ข้อมูลความเข้มข้นของมลพิษในอากาศคำนวณเป็นค่าดัชนีคุณภาพอากาศที่ช่วยให้ประชาชนทราบถึงระดับความปลอดภัยของอากาศ ดังนั้นหากในชีวิตประจำวันสามารถทำนายดัชนีคุณภาพอากาศได้ ประชาชนจะสามารถวางแผนการเดินทางหรือการทำกิจกรรมกลางแจ้ง โดยหลีกเลี่ยงบริเวณที่มีมลพิษสูงได้ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้ป่วยเรื้อรัง ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีงานวิจัยที่ได้พัฒนาวิธีการทำนายดัชนีคุณภาพอากาศโดยนักวิจัยได้ประยุกต์ใช้วิธีการเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning) เพื่อการทำนายคุณภาพอากาศให้ดียิ่งขึ้น ในงานวิจัยนี้ คณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจนำวิธีการเรียนรู้ของเครื่องแบบรวมกลุ่มมาใช้ในการทำนายดัชนีคุณภาพอากาศ จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง คณะผู้วิจัยพบว่าในงานวิจัยของ Zhang et al. (2023) ที่ศึกษาในกลุ่มเมืองของจีน 6 แห่ง ด้วยข้อมูลมลพิษและสภาพอากาศ พบได้ว่าวิธีป่าสุ่มมีประสิทธิภาพดีที่สุดเมื่อวัดด้วย MAE ต่อมาในงานวิจัยของ Dao et al. (2022) ที่ได้ใช้ข้อมูลมลพิษในอินเดีย พบว่าวิธี XGBoost มีประสิทธิภาพดีที่สุด เช่นเดียวกับงานวิจัยของ Kumar and Pande (2023) ในขณะที่ Ravindiran et al. (2023) ได้ศึกษาด้วยข้อมูลมลพิษและสภาพอากาศในรัฐอานธรประเทศ พบว่าวิธี CatBoost มีประสิทธิภาพดีที่สุด และอีก 2 งานวิจัยที่ได้อาศัยแนวทางการรวมกลุ่มแบบ Stacking ได้แก่ งานวิจัยของ Sharma et al. (2024) ที่ศึกษาในหลายเมืองของอินเดียโดยได้ใช้วิธีการรวมกลุ่มของต้นไม้ตัดสินใจหลายวิธี หนึ่งในนั้นคือวิธีการรวมกลุ่มป่าสุ่มและ XGBoost ซึ่งก็พบว่าวิธีดังกล่าวมีประสิทธิภาพดีที่สุด และ Emeç and Yurtsever (2024) ได้ศึกษาการทำนายความเข้มข้นของ PM2.5 ซึ่งเป็นหนึ่งในมลพิษสำคัญที่ส่งผลต่อดัชนีคุณภาพอากาศของเมืองอิสตันบลูและปักกิ่งโดยใช้วิธีการเรียนรู้ของเครื่อง 3 วิธีมารวมกันเป็นวิธีรวมกลุ่มป่าสุ่ม, SVR และ MLP พบว่าวิธีนี้มีประสิทธิภาพดีกว่าการใช้ทั้ง 3 วิธีแยกกัน ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงสนใจนำวิธีการเรียนรู้ของเครื่องแบบรวมกลุ่มทั้ง 5 วิธี ได้แก่ วิธีป่าสุ่ม วิธี XGBoost วิธี CatBoost วิธีรวมกลุ่มป่าสุ่มและ XGBoost และวิธีรวมกลุ่มป่าสุ่ม, SVR และ MLP โดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับค่ามลพิษและสภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดในรัฐเดลี ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีปัญหาด้านคุณภาพอากาศเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2021 ถึง 31 ธันวาคม 2023 และวิธีการวัดประสิทธิภาพ 3 วิธี ได้แก่ รากของค่าคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย ค่าคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ย และสัมประสิทธิ์การกำหนด (Coefficient of Determination) เปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการต่าง ๆ และระบุแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการทำนายดัชนีคุณภาพอากาศ

Other Innovations

DEVELOPMENT OF A WEBSITE FOR COLLECTING INFORMATION ON FARMERS YOUNG SMART FARMER CHANTHABURI PROVINCE

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

DEVELOPMENT OF A WEBSITE FOR COLLECTING INFORMATION ON FARMERS YOUNG SMART FARMER CHANTHABURI PROVINCE

This study aimed to develop a website for collecting and organizing data on Young Smart Farmers in Chanthaburi Province. Data were collected through structured interviews with a sample of 30 participants. The information obtained was categorized and utilized to develop the website, which was subsequently disseminated to farmers and other stakeholders. The study also assessed user satisfaction with the website through a questionnaire, with data analyzed using descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, and standard deviation.The results indicated that the sample comprised an equal proportion of male and female participants, with the majority (50.00%) aged between 36 and 40 years. Most respondents were Young Smart Farmers from the districts of Khlung, Laem Sing, and Kaeng Hang Maeo, each representing 13.33% of the sample. The majority of participants had attained a bachelor’s degree or equivalent (60.00%) and were primarily engaged in agricultural occupations (73.33%). The findings on user satisfaction with the website revealed a high level of satisfaction across all dimensions, ranked as follows 1) Website usability (Mean 4.97), 2) Overall satisfaction (Mean 4.93), 3) Content quality (Mean 4.91), 4) Practical benefits and applicability (Mean 4.87), and 5) Design and layout (Mean 4.85).

Read more
Clean Fuel Vehicle Performance Test Service Unit

คณะวิทยาศาสตร์

Clean Fuel Vehicle Performance Test Service Unit

Clean Fuel Vehicle Performance Test Service Unit provides performance and efficiency testing services for electric vehicles and vehicles using petroleum fuels, including being a prototype for research projects on clean fuel energy that is environmentally friendly. The main testing tools are the Chassis Dynamometer and the Engine Combustion Exhaust Analyzer. The service unit provides measurement and testing services in accordance with the announcement of the Department of Land Transport on determining the power of electric motors used to drive vehicles according to the Motor Vehicle Act B.E. 2563 for all types of electric vehicles, such as modified electric motorcycles, modified electric tuk-tuks, and modified electric cars, etc.

Read more
APS Evolution: Sustainable Automated Parking Innovation for User-Centric Solutions

คณะบริหารธุรกิจ

APS Evolution: Sustainable Automated Parking Innovation for User-Centric Solutions

Parking space shortages in urban areas contribute to traffic congestion, inefficient land use, and environmental challenges. Automated Parking Systems (APS) provide an innovative solution by optimizing space utilization, reducing search times, and minimizing carbon emissions. This research investigates key factors influencing user adoption of APS technology using the UTAUT2 framework, focusing on variables such as Performance Expectancy, Effort Expectancy, Social Influence, Trust in Technology, and Environmental Consciousness. The APS Evolution project presents a smart parking solution that enhances efficiency, minimizes environmental impact, and improves user experience in urban settings. The initiative emphasizes technology-driven urban mobility and sustainable parking management to align with the evolving needs of modern cities.

Read more