In Thailand, the quantity of old tires has been increasing annually, posing a significant environmental challenge due to their non-biodegradable material. However, old tires contain an internal porous structure, which suggests their potential application as sound-absorbing materials. Porosity is a key characteristic that enables materials to trap sound waves, making them effective for noise reduction. Therefore, this study aims to investigate and develop sound-absorbing materials from old tire rubber powder. The methodology involved mixing old tire powder with fresh latex at a ratio of 1:2, followed by drying at a temperature of 120°C for four hours. Subsequently, the physical properties influencing sound absorption, including density, porosity, and water absorption, were analyzed. The results indicated that the sound-absorbing material produced from old tire rubber powder showed a density of 0.96 g/cm³, a porosity value of 0.45, and a water absorption of 11.03%. Therefore, the findings suggest that old tire rubber powder has the potential to be effectively utilized as a sound-absorbing material.
ปัญหาปริมาณขยะจากยางล้อรถที่ใช้งานแล้วที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้หลายประเทศต้องเผชิญกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ ประเทศไทยมียางล้อรถที่ใช้งานแล้วประมาณ 60,000 – 70,000 ตันต่อปี ซึ่งยางล้อรถมีขนาดใหญ่และมีความต้องการพื้นที่จัดเก็บบริเวณกว้างเพื่อรอกำจัด ยางล้อรถเป็นขยะที่ย่อยสลายได้ยากตามธรรมชาติ เนื่องจากในการผลิตยางล้อรถมีขั้นตอนการพันเส้นใยไนลอนโพลิเอเทอร์หรือใยเหล็กเข้ากับเนื้อยางเพื่อเสริมด้านการรับแรงที่ดีขึ้น เรียกว่า ชั้นโครงผ้าใบ และเมื่อพื้นที่จัดเก็บไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะจากยางล้อรถที่ใช้แล้ว ยางล้อรถที่ใช้แล้วอาจกลายเป็นขยะที่ปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม หากทิ้งยางล้อรถไว้เป็นเวลานานและมีน้ำขังอาจกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายอันเป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกได้ นอกจากนี้การกำจัดยางล้อรถที่ใช้แล้วอย่างไม่ถูกวิธีจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยการเผายางรถยนต์จะทำให้เกิดมลพิษทางอากาศที่อาจส่งผลให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพมนุษย์ได้ ในปัจจุบันการจัดการยางรถยนต์ที่ใช้แล้วในประเทศไทยทำได้โดยการนำไปรีไซเคิลเป็นแผ่นยาง เม็ดยางหรือยางเหลว รวมถึงบดและปั่นจนเป็นผง ตัวอย่างการนำยางที่ผ่านการรีไซเคิลแล้วมาใช้ในการผลิตเป็นสินค้าใหม่ เช่น ใช้ในการผลิตพื้นผิวสนามกีฬา สนามเด็กเล่น และสนามหญ้าเทียม เนื่องจากยางมีความยืดหยุ่นสามารถดูดซับแรงกระแทกและการรองรับแรงกระแทกได้ ในด้านการเกษตรและภูมิทัศน์ใช้ยางล้อรถเป็นวัสดุคลุมดิน ช่วยกำจัดวัชพืช รักษาความชื้นของดิน นอกจากนี้โครงสร้างของยางล้อรถยังมีการออกแบบให้มีร่องและช่องว่าง ช่วยลดการสะท้อนและการกระแทกของเสียง เสียงที่เกิดจากการสัมผัสระหว่างยางกับพื้นถนนจะถูกดูดซับโดยเนื้อยาง ซึ่งช่วยให้เสียงที่เกิดจาการขับขี่เบาลงและลดความรำคาญที่เกิดจากเสียงรบกวนขณะขับรถได้ ซึ่งคุณสมบัตินี้มีความคล้ายคลึงกับคุณสมบัติของวัสดุดูดซับเสียงที่ในเนื้อวัสดุจะมีช่องว่างหรือรูพรุนภายในเนื้อวัสดุจำนวนมาก เมื่อเสียงมากระทบกับเนื้อวัสดุจะถูกดูดซับไว้ส่วนหนึ่งและสะท้อนส่วนที่เหลือกลับไป โดยตัวอย่างวัสดุดูดซับเสียงที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันจะผลิตจากวัสดุจำพวกโฟมโพลีเอทิลีน ผ้าหรือเส้นใย ยิปซัมบอร์ด เป็นต้น และในปัจจุบันมีการนำยางมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตวัสดุฉนวนกันเสียงทั้งในอาคารหรือรถมากขึ้นเช่นกัน ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงทำการศึกษาและพัฒนาวัสดุดูดซับเสียงจากผงยางรถที่ใช้แล้ว โดยศึกษาคุณสมบัติของผงยางรถที่ใช้แล้วและศึกษาวิธีการผลิตวัสดุดูดซับเสียงจากผงยางรถที่ใช้แล้ว เพื่อให้ได้วัสดุดูดซับเสียงที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในอาคารสถานที่ได้ สามารถเป็นแนวทางในการนำยางรถที่ใช้แล้วมาต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าและใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเป็นแนวทางการจัดการและลดปริมาณยางรถที่ใช้แล้วที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
คณะวิศวกรรมศาสตร์
The presented project topic is Garbage Sorting Systems. The purpose is to study the operation and develop a waste sorting system that can automatically detect the type of waste using a proximity sensor to separate the types of metal and non-metal waste, as well as an ultrasonic sensor to check the amount of waste in the bin. If the amount of waste exceeds the specified amount, the system will send a notification to the communication device connected to the system, such as a smartphone or computer. The operation of the system is designed to increase the efficiency of waste management, reduce the burden of manual waste sorting, and promote recycling. This system can be applied in various places, such as educational institutions or public places, to help reduce the amount of waste that is not properly separated and increase the opportunity to reuse waste.
คณะวิศวกรรมศาสตร์
This project has been developed to address medical challenges related to the process of counting and classifying blood cells from samples, a task that requires both time and high precision. To reduce the workload of medical personnel, the developers have created a platform and an artificial intelligence (AI) system capable of automatically classifying and counting cells from sample images. This system is designed to assist medical laboratory technicians by enabling them to work more efficiently and accurately, reducing the time required for analysis. Furthermore, it promotes the advancement of medical technology, ensuring effective usability from classrooms and laboratories to hospitals.
คณะวิศวกรรมศาสตร์
The Diabetes Meal Management Application is a digital health tool designed to empower Type 2 diabetic patients in managing their diet and blood sugar levels more effectively. With features like personalized meal recommendations, nutrient tracking, and seamless integration with wearable blood glucose monitors via Blood sugar measuring device (CGM), the application enables users to monitor glucose fluctuations in real time and adjust dietary choices accordingly. Built with the Flutter framework and supported by a backend of Express.js and MongoDB, the application prioritizes a user-friendly interface, ensuring easy navigation and encouraging consistent engagement with meal planning and health tracking. Preliminary user trials show that the application contributes to more stable blood sugar levels and improved adherence to dietary recommendations, helping users reduce health risks associated with diabetes complications. By offering a proactive approach to diabetes management, the application reduces the need for frequent clinical interventions, thus potentially lowering medical costs over time. This project highlights the promising role of digital health solutions in supporting personalized diabetes care, emphasizing the potential for scalable, user-centered interventions that foster long-term health improvements for diabetic patients.