The concept of building a friendly city for older people by adjusting the physical environment is considered one of the crucial components of promoting older people’s better health and quality of life. Based on this tenet, designing a suitable footpath and considering older people’s needs are vital to the reduction of risks and the increase of safety in travelling, especially for older people living in Wat-Thad and Wat-Klang communities where the proportion of the elderly has continuously, increased. The research aimed to 1) survey the physical environment of footpath, approaching public assistance, 2) observe the elderly’s behavior and satisfaction on footpath in communities, and 3) create the proposal concept in developing the suitable footpath with the elderly’s need in city area. This research used various tools, including the questionnaire on the footpath’s physical environment to analyse problems, limitations, and footpath potentials, the interview of staff in the Engineering Division, Khon Kaen municipality and the questionnaires collecting travelling behaviour, satisfaction and attitude of elderly on the footpath in community. The data analysis the physical environment following six components in the monitoring list showed three used descriptive statistics. Interestingly, from 370 samples, the results of investigating qualified evaluations, namely 1) land utilisation in the communities, 2) linking the transportation network, and 3) beautifully attractive places for walking. However, three unqualified evaluations were 1) safety footpath availability, 2) design for all people, and 3) walking on the footpath to access public assistance and facilities. Moreover, the results from the questionnaire to study older people’s travelling behaviour, indicated that the most travelling objectives were grocery shopping and accessing the recreation sites with frequent visits three to five times per week. Furthermore, older people’s satisfaction with the community footpath was overall at a high level, This research proposed suggestions for developing a safe footpath to ensure safe walking access to facilities and public assistance.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เหมาะสมและปลอดภัยเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญในการเตรียมความพร้อมของเมืองเพื่อรองรับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุการที่ผู้สูงอายุได้อยู่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออาทรนั้นส่งผลเชิงบวกต่อพฤฒิพลังและคุณภาพชีวิตของผู้สูงวัยอย่างชัดเจน (อัจฉรา ปุราคม,2563) จากการศึกษาที่ผ่านมีงานวิจัยจำนวนมากได้เชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพและปัจจัยด้านระบบทางสัญจรที่เอื้อต่อการเดินเท้า (Walkability) มีส่วนช่วยส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกาย เนื่องจากผู้สูงอายุมีสภาวะร่างกายที่เสื่อมถอยทำให้เกิดปัญหาสุขภาพและหนึ่งในปัญหาที่สำคัญคือการบาดเจ็บจากพลัดตกหกล้มซึ่งเป็นสาเหตุการป่วยอันดับสอง รองจากอุบัติเหตุการขนส่งและส่วนใหญ่ร้อยละ 65 เป็นการหกล้มนอกบ้าน มีสาเหตุที่เป็นปัจจัยเสี่ยงคือ ปัจจัยทางด้านร่างกายและปัจจัยทางด้านสภาพแวดล้อม (กองป้องกันการบาดเจ็บ,2565,กรมควบคุมโรค) นอกจากประโยชน์ด้านสุขภาพร่างกาย การเดินเท้ายังเป็นรูปแบบการสัญจรที่ทำให้ผู้สูงอายุสามารถเดินทางไปมาหาสู่กับครอบครัวและเพื่อนฝูงที่อาศัยอยู่ในละแวกชุมชนเดียวกันได้อย่างสะดวกและไม่มีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ถือเป็นการเพิ่มทางเลือกในการเดินทางเพื่อเข้าถึงบริการสาธารณะและสิ่งอำนวยความสะดวกในละแวกบ้านได้อย่างอิสระ ดังนั้นการจัดเตรียมโครง สร้างพื้นฐานให้มีทางเท้าที่ปลอดภัยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถทำกิจวัตรประจำวันด้วยตัวเอง โดยเฉพาะเมื่อต้องเดินทางตามลำพัง นับเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในทุกมิติ ปัจจุบันจังหวัดขอนแก่นมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุมากเป็นอันดับ 3 ในภูมิภาค (ข้อมูลสถิติผู้สูงอายุจากการกรมกิจการผู้สูงอายุ,2566) จากข้อมูลพบว่ามีสัดส่วนประชากรที่อายุ 60 ปีขึ้นไปและอาศัยในเขตเทศบาลนครขอนแก่น จำนวน 19,572 คน คิดเป็น 23.28% ถือได้ว่าเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นพร้อม ๆ กับการขยายตัวของเมืองโดยพัฒนาให้เป็นเมืองศูนย์กลางด้านการแพทย์และนวัตกรรมสุขภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนและรองรับกับสังคมผู้สูงวัย แต่ในขณะเดียวกันเมื่อพิจารณางานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า พฤติกรรมการเดินทางของผู้สูงอายุที่อาศัยในเมืองขอนแก่นส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพื่อเดินทางไปทำกิจกรรมใน ชีวิตประจำวันในพื้นที่ศูนย์กลางเมืองและเมืองชั้นใน(CBD and Inner City) โดยนิยมใช้รถยนต์ส่วนตัวเนื่องจากเป็นรูปแบบการเดินทางที่มีความสะดวกสบาย และการเดินทางแต่ละครั้งจำเป็นต้องพึ่งพาบุคคลอื่นหรือมักมีผู้ร่วมเดินทางไปด้วยเนื่องจากผู้สูงอายุมีข้อจำกัดทางด้านร่างกายที่เพิ่มขึ้น(รชยา พรมวงศ์และ ปัทมพร วงศ์วิริยะ,2565) ดังนั้นการมีทางเลือกรูปแบบการเดินทางที่หลากหลาย จึงช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถเดินเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกในเมืองโดยลำพังได้อย่างอิสระโดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น ส่งผลบวกต่อความรู้สึกที่ผ้สู ูงอายุมีต่อตนเอง จากสถาณการณ์และความสำคัญของปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการสร้างสภาพแวดล้อมเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงอายุ จึงเป็นที่มาของการศึกษาการพัฒนาทางเท้าเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงระบบสาธารณูปการสำหรับผู้สูงอายุภายในเขตชุมชนคุ้มวัดธาตุและชุมชนคุ้มวัดกลาง จากการตั้งถิ่นฐานชุมชนเมืองเดิมเป็นย่านชุมชนเมืองเก่าที่มีการอาศัยอยู่แบบเครือญาติและยึดถือวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมที่สืบต่อกันมา เกิดการรวมตัวกันหลากหลายอาชีพหลายช่วงวัยและได้เปลี่ยนเป็นชุมชนเมืองที่มีการอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น ปัจจุบันทั้ง 2 ชุมชน มีประชากรทั้งหมด 4,819 คน (สำนักสวัสดิการและสังคม จังหวัดขอนแก่น,2566) ปัจจุบันพบว่าบริเวณโดยรอบชุมชนมีสาธารณูปการหลากหลายประเภท ตัวอย่างเช่น บริการด้านนันทนาการ มีสวนสาธารณะบึงแก่นนครเป็นแหล่งรวมกิจกรรมของพื้นที่นันทนาการและสวนสาธารณะขนาดใหญ่ อยู่ในระยะรัศมีไม่เกิน 12.5 กิโลเมตร สามารถเดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะไม่เกินครึ่งชั่วโมง แหล่งบริการด้านสาธารณะสุขมีศูนย์แพทย์ชุมชน วัดหนองแวง ซึ่งตั้งอยู่ในระยะรัศมีไม่เกิน 7 กิโลเมตร สาธารณูปการด้านความปลอดภัยมีสถานีดับเพลิง อยู่ในรัศมีของการดับเพลิงไม่เกิน 2.4 กิโลเมตร ซึ่งทุกชุมชนต้องมีสถานีดับเพลิงอย่างน้อยที่สุด 1 แห่ง สามารถดับเพลิงได้ 2 จุดในเวลาเดียวกัน อยู่ในรัศมีการให้บริการตามเกณฑ์มาตรฐาน(เกณฑ์และมาตรฐานผังเมืองรวม พ.ศ.2549,กรมโยธาธิการและผังเมือง) นอกจากนั้นยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ได้แก่ ศูนย์สร้างสุขผู้สูงอายุวัดหนองแวง ห้องสมุด ตลาดสด ศูนย์การค้า ร้านสะดวกซื้อ ศาสนสถานได้แก่ วัดธาตุวัดกลาง และวัดหนองแวง เป็นต้น แต่ลักษณะทางกายภาพของทางเดินเท้าในบางพื้นที่ยังมีปัญหาเรื่องถนนที่ไม่ปลอดภัยต่อการใช้งาน ไม่เอื้อต่อการเดินเท้าการจราจรที่ติดขัด การสัญจรที่ไม่ครอบคลุมการเดินทาง ถือเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงพื้นที่ของผู้สูงอายุ การวิจัยครั้งนี้จึงมุ่งเน้นเพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของทางเดินเท้าว่ามีความเหมาะสมสำหรับการเดินเข้าถึงสาธารณูปการและสิ่งอำนวยความสะดวกหรือไม่ และศึกษาพฤติกรรมการเดินทางและความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มีต่อทางเท้า เพื่อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาทางเท้าที่ปลอดภัยในละแวกบ้าน ซึ่งประชากรกลุ่มเป้าหมายการวิจัยในครั้งนี้คือ ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป เป็นประชากรในช่วงวัยทำงานที่มีแนวโน้มจะเป็นผู้สูงอายุในอนาคต ดังนั้นการพัฒนาทางเท้าในชุมชนถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของการสร้างสภาพแวดล้อมทางกายภาพของเมืองที่เอื้อประโยชน์ให้คนทุกกลุ่มในสังคมได้ใช้ชีวิตในวัยชราอย่างมีคุณภาพ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุได้อย่างยั่งยืนและสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเมืองในปัจจุบัน
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
Crispy Rice-berry Snack is a product made from broken rice-berry rice that has been processed into a snack that is thin and crispy, bite-sized. Broken rice-berry rice is cooked, finely ground, and mixed with other ingredients to increase its nutritional value, such as adding plant seeds, adding plant protein nutrients, and then forming it into sheets using heat. The resulting product is a thin sheet, purple-brown in color, crispy, and has the smell of the ingredients used in the production process. It does not contain sugar or sweeteners. It is used as a snack with tea or coffee. Crispy Rice-berry Waffle is a product that contains complete nutrients, including carbohydrates, protein, and fat, which are derived from the ingredients in the production formula.
คณะวิทยาศาสตร์
Cancer remains a major global health challenge as the second-leading cause of human death worldwide. The traditional treatments for cancer beyond surgical resection include radiation and chemotherapy; however, these therapies can cause serious adverse side effects due to their high killing potency but low tumor selectivity. The FDA approved monoclonal antibodies (mAbs) that target TIGIT/PVR (T-cell immunoglobulin and ITIM domain/poliovirus receptor) which is an emerging immune checkpoint molecules has been developed; however, the clinical translation of immune checkpoint inhibitors based on antibodies is hampered due to immunogenicity, immunological-related side effects, and high costs, even though these mAbs show promising therapeutic efficacy in clinical trials. To overcome these bottlenecks, small-molecule inhibitors may offer advantages such as better oral bioavailability and tumor penetration compared to mAbs due to their smaller size. Here, we performed structure-based virtual screening of FDA-approved drug repertoires. The 100 screened candidates were further narrowed down to 10 compounds using molecular docking, with binding affinities ranging from -9.152 to -7.643 kcal/mol. These compounds were subsequently evaluated for their pharmacokinetic properties using ADMET (Absorption, Distribution, Metabolism, Excretion, and Toxicity) analysis, which demonstrated favorable drug-like characteristics. The lead compounds will be further analyzed for conformational changes and binding stability against TIGIT through molecular dynamics (MD) simulations to ensure that no significant conformational changes occur in the protein structure. Collectively, this study represents the potential of computational methods and drug repurposing as effective strategies for drug discovery, facilitating the accelerated development of novel cancer treatments.
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
This research gives a comprehensive overview of the use of antibiotics in livestock production, highlighting both the benefits and the risks associated with their use. The benefits, such as improving immunity, digestion, and reducing infections, are contrasted with the growing concern over antibiotic residues and the development of drug resistance. The shift towards alternatives like probiotics is explored as a sustainable solution, with a specific focus on lactic acid bacteria (LAB) found in the digestive systems of livestock. Thailand’s regulations, which control antibiotic use in animal feed, are also discussed, setting the stage for the study on LAB as a potential replacement for imported probiotics. 1. Use of Antibiotics in Livestock: Antibiotics have been used to promote growth, improve digestion, and prevent infections in livestock. However, the improper use of antibiotics can lead to residues in animal products and the development of drug-resistant bacteria. 2. Global Trends in Antibiotic Use: Many countries, like the European Union and Japan, have banned antibiotics as growth promoters, while others, like China and the U.S., are planning similar bans. 3. Thailand's Approach: Thailand has implemented a regulation since September 2020 to control the use of antibiotics in animal feed, requiring control at both feed mills and farms that mix their own feed. 4. Probiotics as an Alternative: Probiotics, particularly lactic acid bacteria (LAB), are being studied as an alternative to antibiotics. LAB are naturally found in the digestive tracts of livestock and are considered beneficial for maintaining gut health and replacing the need for antibiotics. The study examines the potential of LAB from Thai livestock (broilers, pigs, and cattle) as a sustainable alternative to imported probiotics, aiming to overcome issues like low survival rates of foreign probiotics in practice.