KMITL Innovation Expo 2025 Logo

LEARNING ACHIEVEMENT WITH THE USE OF BOARDGAMES ON MUSHROOMS COOPERATED WITH COOPERATIVE LEARNING FOR THIRD-YEAR VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENTS

Abstract

This study aims to develop a board game on mushrooms production with cooperative learning and to examine its effects on the learning achievement of third-year vocational certificate students in the mushroom production course. The research instruments included a board game designed using the Educational Boardgame Design Canvas framework, comprising 60 cards (7 main cards, 24 secondary cards, and 29 additional cards). The board game was implemented alongside the Learning Together (LT) cooperative learning approach, following the ASSURE Model for instructional media design. Pre- and post-tests, along with a satisfaction questionnaire, were used to assess student performance and engagement. The findings revealed a statistically significant improvement at the .05 level in students' learning achievement before and after using the board game. At Ratchaburi College of Agriculture and Technology, the post-test mean score was 16.00, compared to a pre-test mean score of 12.50. Student satisfaction with the learning approach was at the highest level, with an average satisfaction score of 4.69. To further refine and expand the study, the board game was also implemented at the Uthai Thani College of Agriculture and Technology, where similar improvements were observed. The post-test mean score increased to 11.21, compared to a pre-test mean score of 7.48, confirming the research hypothesis. Student satisfaction at Uthai Thani College of Agriculture and Technology was also high, with an average satisfaction score of 4.39. These results suggest that integrating board games with cooperative learning effectively enhances student achievement and engagement in agricultural education.

Objective

เนื่องจากในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงหลังเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 (COVID-19) ระบาดหนัก ทำให้นักเรียนต้องเรียนผ่านออนไลน์ในช่วงระยะเวลาที่ต้องกักตัวหรือจำกัดพื้นที่ในการทำกิจกรรมต่างๆ ในระหว่างสถานการณ์โรคระบาด ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวนี้นักเรียน มีการเปลี่ยนแปลงกิจวัตรประจำวัน พฤติกรรม รวมไปถึงอารมณ์สังคมอย่างไรบ้าง ผลการสำรวจของ ณัฏฐณี สุขปรีดี (2564 : ออนไลน์) พบว่า สิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงไปมากที่สุด คือ นักเรียนส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และพฤติกรรมไปในเชิงลบ มีการใช้เวลากับหน้าจอเพิ่มมากขึ้น มีเวลาในการทำกิจกรรมทางกายลดลง และใช้เวลาในการนอนทั้งช่วงกลางวันและกลางคืนมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นที่บ้านเป็นระยะเวลายาวนานต่อเนื่องนี้ ย่อมส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเด็กเมื่อกลับมาสู่รั้วโรงเรียน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 เน้นให้ผู้สอนจัด การศึกษาโดยผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนั้น วิธีการจัดการเรียนรูในปัจจุบันจึงควรปรับไปตาม แนวการจัดการศึกษาดังกล่าว โดยนําเอาแนวคิดของการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) มาปรับใช้เพื่อให้ผู้เรียนมีบทบาทสำคัญในกระบวนการเรียนรู้ เป็นผู้ลงมือกระทำด้วยตนเองหรือมีส่วน ร่วมในการเรียนรู้อย่างตื่นตัว ผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้างความรู้ใหม่ด้วยตนเอง ได้ใช้ความรู้และทักษะผ่าน การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ผู้สอนทำหน้าที่เป็นผู้อํานวยความสะดวกสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ เอื้อต่อการเรียนรู วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสภาพจริง (วัชรพล วิบูลยศริน, 2561) ซึ่งวิธีการสอนโดยการใช้เกมจัดได้ว่าเป็นการสอนในรูปแบบการสอนเชิงรุก (Active Learning) อย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยใหผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด วิธีการสอนโดยใช้เกมนี้เป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องต่าง ๆ อย่าง สนุกสนานและท้าทายความสามารถ โดยผู้เรียนเป็นผู้เล่นเกมเอง ซึ่งเป็นการจําลองสถานการณ์ทำให้ ได้รับประสบการณ์ตรงเป็นวิธีการการที่เปิดโอกาสใหผู้เรียนมีส่วนร่วมสูง ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนเรียนเล่นตามกฎกติกาและนําเนื้อหา และข้อมูลของเกม พฤติกรรมการเล่น วิธีการเล่น และผลการเล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการอภิปรายเพื่อสรุปการเรียนรู้ (ทิศนา แขมมณี, 2552) การนำบอร์ดเกมมาใช้ร่วมกับการเรียนการสอนนั้น จะสามารถให้ทั้งความสนุก การลุ้นอย่างตื่นเต้น และการเพิ่มพูนทักษะต่าง ๆ รอบด้านได้เป็นอย่างดี ทั้งยังผสานความสัมพันธ์กันภายในชั้นเรียนปรับปรุงและเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และให้การตัดสินใจร่วมกัน สร้างแรงจูงใจของผู้เข้าร่วม และส่งเสริมการเรียนรู้ การค้นพบนี้ชี้ให้เห็นว่าบอร์ดเกมเป็นการแก้ปัญหาทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพสำหรับกระบวนการ เรียนรู้ต่างๆ ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก และคณะ (2564 : 12) ในการจัดการเรียนการสอนวิชาการผลิตเห็ดพบว่านักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานผลิตพืช วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีราชบุรี ไม่สามารถเข้าใจบทเรียนการเรียนการสอนที่ผ่านมา ที่มีเนื้อหาค่อนข้างมากจึงทำให้ผู้เรียนไม่สามารถจำเนื้อหาได้ และผู้เรียนขาดความกระตือรือร้นในการเรียนในภาคทฤษฎี ดังนั้นผู้วิจัยจึงทำการวิจัยนี้ขึ้นมาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการใช้บอร์ดเกมร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเรื่อง เห็ด

Other Innovations

BottleBank - Automatic Waste Collection Bin for Plastic and Cans

คณะวิทยาศาสตร์

BottleBank - Automatic Waste Collection Bin for Plastic and Cans

This project presents the development of an automatic recycling machine for plastic bottles and cans, utilizing Machine Learning for packaging classification through image processing, integrated with smart sensor systems for quality inspection and operation control. The system connects to a Web Application for real-time monitoring and control. Once the packaging type is verified, the system automatically calculates the refund value and processes payment through e-wallet or issues cash vouchers. The system can be installed in public spaces to promote waste segregation at source, reduce contamination, and increase recycling efficiency. It also provides financial incentives to encourage public participation in waste management. This project demonstrates the potential of combining Machine Learning and smart sensor systems in developing accurate, convenient, and sustainable waste management solutions.

Read more
The Metaverse of KMITL Lifelong Learning Center (KLLC) and Data Management Center (KDMC) for Public Relations

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

The Metaverse of KMITL Lifelong Learning Center (KLLC) and Data Management Center (KDMC) for Public Relations

This thesis aims to present the development of a metaverse project for the KMITL Lifelong Learning Center (KLLC) and KMITL Data Management Center (KDMC) for Public Relations at King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, with the main goal of creating a metaverse prototype to promote learning and public relations through virtual reality technology for students, staff, and external individuals. In this project, the developers have created a metaverse system to simulate a virtual experience for users at the KMITL Lifelong Learning Center (KLLC) and KMITL Data Management Center (KDMC) for Public Relations at King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. Users will be able to access the system through a web application developed with Unity, which is the tool used to create the metaverse system. The design allows users to visit and interact with various locations within the building to promote public relations in a more widespread virtual format. The developers used Maya and Unity software to create a metaverse system for modeling 3D objects and managing various functions, providing users with a realistic and novel experience. This project is expected to promote learning and the dissemination of information in an easily accessible modern format, creating opportunities for education and learning for those who cannot travel to see the actual locations. This makes metaverse technology an important tool for effectively developing learning and engagement in the digital age.

Read more
CO Breathalyzer with Voice Response

คณะบริหารธุรกิจ

CO Breathalyzer with Voice Response

CO Breathalyzer with Voice Response is the device to measured the level of CO residual in a person's lung who consume tobacco. Measuring residual CO in human breath can identify the tobacco addiction level instead of measuring nicotine in blood.

Read more