This project aims to design and develop an electric tuk-tuk by converting the traditional combustion engine system to an electric system, supporting the reduction of air pollution and promoting sustainable automotive technology. The electric tuk-tuk is designed using a BLDC electric motor and a control system specifically adapted for the unique driving style of three-wheeled vehicles in Thailand. The study considers suitable energy systems and includes interviews with traditional tuk-tuk drivers to ensure the vehicle meets everyday usability needs. The findings suggest that adopting electric tuk-tuks not only reduces emissions and PM2.5 particulate matter but also enhances an eco-friendly image for Thailand’s tourism sector while supporting domestic innovation and economic growth.
ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมาปัญหาสิ่งแวดล้อมได้รับความสนใจอย่างมากจากทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศไทยที่เผชิญกับปัญหามลพิษทางอากาศอย่างรุนแรง ซึ่งเป็นหนึ่งในวิกฤตสำคัญของเมืองใหญ่เช่นกรุงเทพฯ ที่ค่าฝุ่น PM2.5 สูงถึง 27.4ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือเกินมาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (WHO) ถึง 5 เท่า สาเหตุหลักของปัญหานี้มาจากยานพาหนะที่ใช้เครื่องยนต์สันดาปภายใน(ICE) โดยเฉพาะในยานพาหนะที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งปล่อยทั้งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และฝุ่น PM2.5 ซึ่งล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศและสุขภาพของประชาชนรถตุ๊กตุ๊กซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของไทยและเป็นที่นิยมในหมู่นักท่องเที่ยวเป็นอีกหนึ่งยานพาหนะที่ใช้งานมาอย่างยาวนานและมักใช้เครื่องยนต์สันดาปที่มีประสิทธิภาพต่ำ ทำให้ปล่อยมลพิษสูงกว่ายานพาหนะที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ ดังนั้นการพัฒนารถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าจึงมีความสำคัญเพื่อลดการปล่อยมลพิษ ควบคู่ไปกับการรักษาเอกลักษณ์ของไทยให้คงอยู่ การเปลี่ยนรถตุ๊กตุ๊กจากเครื่องยนต์สันดาปเป็นรถไฟฟ้าจะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างมาก โดยหากตุ๊กตุ๊กเปลี่ยนมาเป็นรถไฟฟ้าจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากเดิม 6.2 ตันต่อปีเหลือเพียง2 ตันต่อปี หรือคิดเป็นการลดลงถึง 67% ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลไทยที่ตั้งเป้าลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ 20-25% ภายในปี 2573 ตามข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) นอกจากนี้รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้ายังมีค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาต่ำกว่ารถที่ใช้เครื่องยนต์เชื้อเพลิง เพราะไม่มีเครื่องยนต์สันดาปที่ซับซ้อนช่วยให้เจ้าของรถประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะยาว อีกทั้งยังช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ด้านสิ่งแวดล้อมให้แก่ประเทศไทย สนับสนุนการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มโอกาสในการพัฒนาเทคโนโลยีในประเทศซึ่งนอกจากจะเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อมแล้วยังสร้างโอกาสใหม่ๆในด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ
From the current situation and uncertainty; leads to the concept of food security. It is the application of innovation and technology to create high productivity in a limited area. The unused buildings in urban areas were renovated for planting, created as a learning area for planting in urban area. The different methods of growing plants were presented. There are 35 planting innovations for disseminating knowledge, to create food security, self-reliant, supports sustainable living.
คณะวิศวกรรมศาสตร์
This project aims to develop an AI-powered system for detecting and classifying wall cracks using image processing. It identifies different crack types, assesses severity, and ensures accuracy across various image conditions. The goal is to support preventive maintenance by enabling early detection of structural issues, reducing repair costs, and improving safety.
คณะวิศวกรรมศาสตร์
This project focuses on the development of an automatic license plate recognition system that supports both standard and special license plates in Thailand. By utilizing Machine Learning technology, the system enhances the efficiency of license plate reading. It can process data from both images and videos. Users can register and subscribe to the service, allowing them to send data for processing through RESTful API, WebSocket, and registered IP cameras.