KMITL Innovation Expo 2025 Logo

Augmented reality media integrated with metaverse to develop English Phonics

Abstract

This aimed to 1) develop an effective augmented reality (AR) media integrated with the metaverse to enhance English phonics and communication skills. 2) To evaluate English pronunciation skills using augmented reality media integrated with the metaverse, and 3) To assess English communication skills through interactions within the metaverse. The sample group comprised 120 Grade 4 students from two classrooms in the first semester of the 2024 academic year, selected through cluster random sampling and divided into experimental and control groups. The research instruments included AR media sets, media quality assessment forms, phonics tests, and English communication skills assessment forms, administered before and after the learning intervention. Data analysis employed mean (x ̅), standard deviation (S), t-tests for independent samples, and one-way analysis of variance (Multivariate Analysis of Variance: One-Way MANOVA) to compare mean score differences between the experimental and control groups. Results indicated that the overall quality of the AR media kit with the metaverse was rated at a very high level (x ̅= 4.80, S.D. = 0.12). Evaluating specific aspects showed that the content quality was at the highest level (x ̅= 4.92, S.D. = 0.07), while the media production technique also rated highly (x ̅ = 4.70, S.D. = 0.17). Furthermore, the English pronunciation and communication skills of the Grade 4 students using the AR media with the metaverse were significantly higher after the intervention compared to before, the overall quality of the AR media integrated with the metaverse was rated at the highest level (x ̅= 4.80, S.D. = 0.12). For individual aspects, content quality was rated at the highest level (x ̅= 4.92, S.D. = 0.07), and media production techniques were also rated at the highest level (x ̅ = 4.70, S.D. = 0.17). Comparing the mean scores of English pronunciation and communication skills between the two groups, it was found that the experimental group using AR media integrated with the metaverse demonstrated significantly higher English pronunciation skills than the control group (F(1, 89) = 3261.422, p = 0.001, Partial η² = 0.98). Additionally, the experimental group exhibited significantly higher English communication skills than the control group (F(1, 89) = 4239.365, p = 0.001, Partial η² = 0.98). These results aligned with the research hypothesis that "Grade 4 students’ English pronunciation and communication skills post-learning with AR media integrated with the metaverse would significantly improve compared to their pre-learning levels at the .05 level of significance.

Objective

ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสำคัญของโลก ภาษาอังกฤษปัจจุบันคือภาษานานาชาติ เป็นภาษากลางของโลก ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางของมนุษยชาติ เป็นภาษาที่มนุษย์บนโลกใช้ติดต่อระหว่างกันเป็นหลักไม่ว่าแต่ละคนจะใช้ภาษาอะไรเป็นภาษาประจำชาติ เมื่อต้องติดต่อกับคนอื่นที่ต่างภาษาต่างวัฒนธรรมกันทุกคนจำเป็นต้องใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักอยู่แล้ว ด้วยเหตุนี้ทุกคนทุกชาติทุกภาษาจึงบรรจุวิชาภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองรองลงมาจากภาษาประจำชาติ เป็นแกนหลักของหลักสูตรการศึกษาทุกระดับตั้งแต่ปฐมวัยไปจนถึงการศึกษาตลอดชีวิต การใช้เทคโนโลยี AR ทำให้กระบวนการเรียนรู้เป็นที่น่าสนใจมากขึ้น ผู้เรียนเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านประสบการณ์ที่สมจริงและสนุกสนาน เพิ่มความน่าสนใจในการเรียนรู้ การให้ผู้เรียนฟังและอ่านคำศัพท์ผ่านเทคโนโลยีนี้ จะช่วยให้พัฒนาทักษะการอ่านและการฟังของผู้เรียนได้มากขึ้น เป็นการเสริมพัฒนาการอ่านและฟัง และการให้ผู้เรียนได้สัมผัสและสร้างสรรค์ด้วย AR สามารถกระตุ้นจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนในการเรียนรู้ จึงต้องการที่จะสร้าง AR เพื่อช่วยสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีความสมจริงมากขึ้น ผู้เรียนสามารถได้รับการเรียนรู้แบบได้เสมือนจริงที่น่าสนใจและมีความน่าสนใจมากขึ้น ทำให้มีความตั้งใจในการเรียนรู้และนำไปสู่การพัฒนาทักษะดีขึ้น นอกจากนั้น ช่วยในการฝึกการออกเสียงภาษาอังกฤษอย่างทันท่วงที ผู้เรียนสามารถทดลองออกเสียงตามคำและปฏิสัมพันธ์ในสถานการณ์ที่เสมือนจริง ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการพัฒนาทักษะการสนทนาและความมั่นใจในการพูด นอกจากเรื่องของการสื่อสารแล้ว การใช้เทคโนโลยี AR ยังสามารถแสดงตัวอักษรพร้อมกับเสียงที่เกี่ยวข้องกับแต่ละตัวอักษร Phonics ซึ่งช่วยในการสะกดคำและเรียนรู้เสียงของแต่ละตัว การสะกดคำและเสียงในลักษณะของภาพ 3 มิติ, วิดีโอ, หรือการประกาศเสียงที่สามารถช่วยในการเข้าใจและจดจำคำศัพท์ Phonics ได้มากขึ้น ปัญหาที่ค้นพบในวิชาภาษาอังกฤษคือ ผู้เรียนมีปัญหาในการออกเสียงภาษาอังกฤษ เนื่องมาจากความแตกต่างระหว่างระบบเสียงภาษาอังกฤษกับระบบเสียงภาษาไทย ผู้เรียนจำเสียงพยัญชนะไม่ได้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย จึงทำให้ผู้เรียนไม่สามารถสะกดคำได้และอ่านคำศัพท์ภาษาอังกฤษไม่ถูกต้อง การอ่านออกเสียงสะกดคำ (Phonics) เป็นหลักการถอดเสียงและการประสมเสียงของตัวอักษร ผู้เรียนจะต้องเข้าเสียงของตัวอักษร และสามารถออกเสียงตัวอักษรได้อย่างถูกต้อง จึงจะสามารถประสมเสียงออกมาเป็นคำได้ เช่นคำว่า Cat ผู้เรียนต้องรู้จักเสียงของแต่ละตัวอักษรก่อน จากนั้นจึงค่อยประสมเสียงเป็น เคอะ + แอะ + เทอะ แคท จึงต้องการทดลองใช้ spatial เป็นห้องเรียนเสมือนจริง แล้วใช้โปรแกรม ARyel สร้างสื่อบัตรคำภาษาอังกฤษ AR ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ให้ผู้เรียนได้เข้าไปแสกนเพื่อเข้าไปเรียนในห้องเรียน Metaverse ใน spatial จะช่วยให้ผู้เรียนสนใจในการเรียนภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น โดยชุดสื่อความจริงร่วมกับเมตาเวิร์ส เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ ที่ได้พัฒนาขึ้นมานี้เกิดจากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากแนวคิด ทฤษฎี และหลักสูตรแกนกลาง และได้นำกระบวนการแนวคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Process) ของ Stanford d. school 5 ขั้นตอน มาใช้ในการพัฒนาชุดสื่อความจริงร่วมกับเมตาเวิร์ส เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียงมากยิ่งขึ้น ทั้งยังช่วยกระตุ้นความสนใจในการเรียนรู้ และช่วยส่งเสริมทัศนคติทางบวกในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษทางด้านการออกเสียง ซึ่งถือเป็นพื้นฐานในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและเพื่อเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้มีพื้นฐานด้านการสื่อสารและเป็นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษให้สูงขึ้น

Other Innovations

CO Breathalyzer with Voice Response

คณะบริหารธุรกิจ

CO Breathalyzer with Voice Response

CO Breathalyzer with Voice Response is the device to measured the level of CO residual in a person's lung who consume tobacco. Measuring residual CO in human breath can identify the tobacco addiction level instead of measuring nicotine in blood.

Read more
Artificial intelligence of things system for monitoring and controlling irrigation using weather information

วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์

Artificial intelligence of things system for monitoring and controlling irrigation using weather information

This research focuses on the design and development of a prototype Artificial Intelligence of Things (AIoT) system for monitoring and controlling irrigation using weather information. The system consists of four main components: 1) Weather Station – This component includes various sensors such as air temperature, relative humidity, wind speed, and sunlight duration, among others, to collect real-time weather data. 2) Controller Unit – This unit is equipped with machine learning algorithms or models to estimate the reference evapotranspiration (ETo) and calculate the plant’s water requirement by integrating the crop coefficient (Kc) with other plant-related data. This enables the system to determine the optimal irrigation amount based on plant needs automatically. 3) User Interface (UI) and Display – This section allows farmers or users to input relevant information, such as plant type, soil type, irrigation system type, number of water emitters, planting distance, and growth stages. It also provides a display for monitoring and interaction with the system. 4) Irrigation Unit – This component is responsible for controlling the water supply and managing the irrigation emitters to ensure efficient water distribution based on the calculated requirements.

Read more
Encapsulation of Anthocyanins in Spray-Dried W/O/W Emulsion

คณะอุตสาหกรรมอาหาร

Encapsulation of Anthocyanins in Spray-Dried W/O/W Emulsion

This study aims to investigate the encapsulation of anthocyanins in water-in-oil-in-water (W/O/W) emulsions and their spray-drying process to enhance anthocyanin stability against external factors such as light, temperature, and pH changes. The W/O/W emulsion was prepared using suitable surfactants and dried using a spray dryer at an inlet temperature of 120–140°C and an outlet temperature not lower than 80°C. The results showed that the composition ratios of water, oil, and surfactants significantly influenced the physical and chemical properties of the emulsion, as well as the encapsulation efficiency of anthocyanins. The spray-dried W/O/W emulsion demonstrated effective anthocyanin retention and improved long-term stability, making it applicable for food and health-related products.

Read more