This special problem aims to compare the performance of machine learning methods in time series forecasting using lagged time periods as independent variables. The lagged periods are categorized into three groups: lagged by 10 units, lagged by 15 units, and lagged by 20 units. The study employs four machine learning methods: Decision Tree (DT), Random Forest (RF), K-Nearest Neighbors (KNN), and Support Vector Machine (SVM). The time series data simulated as independent variables diverse including characteristics: Random Walk data, Trending data, and Non-Linear data, with sample sizes of 100, 300, 500, and 700. The research methodology involves splitting the data into 90% for training and 10% for testing. Simulations and analysis are performed using the R programming language, with 1,000 iterations conducted. The results are evaluated based on the average mean squared error (AMSE) and the average mean absolute percentage error (AMAPE) are calculated to identify the best performing method. The research findings revealed that for Random Walk data, the best performing methods are Random Forest and Support Vector Machine. For Trend data, the best performing methods are Random Forest. For Non-Linear data, the best performing methods are Support Vector Machine. When tested with real-world data, the results show that for the Euro-to-Thai Baht exchange rate, the best methods are Random Forest and Support Vector Machine. For the S&P 500 Index in USD, the best performing methods are Random Forest. For the Bank of America Corp Index in USD, the best performing methods are Support Vector Machine.
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทำให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวกต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ มีแหล่งข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย รวมถึงแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ที่เรียกกว่าข้อมูลมหัต (Big Data) เป็นข้อมูลที่มีปริมาณมาก (Volume) มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอยู่ตลอดเวลา (Velocity) และมีความหลากหลายสูง (Variety) เนื่องจากคุณสมบัติเหล่านี้จัดเป็นอุปสรรคหรือปัญหาของ ข้อมูลขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ทันทีจึงต้องมีกระบวนการจัดการข้อมูล ขนาดใหญ่เสียก่อน โดยใช้วิธีการเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning) เข้ามาเกี่ยวข้อง การเรียนรู้ด้วยเครื่อง (Machine Learning) คือวิทยาการคอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่ง เกี่ยวข้องกับการศึกษาและสร้างอัลกอริทึมที่สามารถเรียนรู้ข้อมูลและทำนายข้อมูลได้ สามารถแบ่งการเรียนรู้ของเครื่องออกเป็น 2 กลุ่มประกอบด้วย การเรียนรู้แบบไม่มีผู้สอน (Unsupervised Learning) คือการวิเคราะห์ข้อมูลที่ไม่มีตัวแปรตามหรือคำตอบกำกับไว้ มุ่งเน้นไปที่การหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลและการแบ่งกลุ่มเพื่อลดมิติของข้อมูล เช่น การวิเคราะห์แบ่งกลุ่ม (Cluster Analysis) ซึ่งได้รับความนิยมใช้เพื่อลดมิติของข้อมูลและการแบ่งกลุ่มข้อมูลด้วยคุณลักษณะต่าง ๆ และการเรียนรู้แบบมีผู้สอน (Supervised Learning) คือการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีตัวแปรตามหรือคำตอบกำกับไว้ ถ้าตัวแปรตามเป็นเชิงปริมาณจะเป็นการพยากรณ์ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time series) แต่ถ้าตัวแปรตามเป็นเชิงคุณภาพจะเป็นการวิเคราะห์การจำแนก (Classification) โดยเทคนิคที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายได้แก่ การถดถอยโลจิสติกส์ (Logistic Regression) ต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) เทคนิคป่าสุ่ม (Random Forest) และโครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) เป็นต้น การจำแนกถูกนำมาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยในหลายด้าน (วริทธิ์พล , 2565) ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Series) คือ ชุดข้อมูลที่รวบรวมและจัดเก็บตามลำดับ ต่อเนื่องกันภายใต้การเพิ่มขึ้นของเวลา โดยข้อมูลดังกล่าวจะถูกเก็บรวบรวมอย่างต่อเนื่องในระยะเวลาติดต่อกัน ตามช่วงเวลาที่ต้องการ เช่น ข้อมูลราคาทองคำ ข้อมูลปริมาณน้ำในเขื่อน ซึ่งจะถูกบันทึกข้อมูลเป็นวัน ในบางกรณี การจัดเก็บข้อมูลอาจมีลักษณะการจัดเก็บแบบเป็นช่วงเวลาต่อเนื่องกัน เพื่อสร้างตัวแบบอนุกรมเวลา (Time Series Model) ในการทำนายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตโดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา (Time Series Analysis) ในการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ส่วนใหญ่ข้อมูลอนุกรมเวลาเป็นข้อมูลที่เยอะ ซับซ้อน และมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้ยากต่อการหาวิธีที่ดีที่สุดในการพยากรณ์ จึงได้มีการนำการเรียนรู้ด้วยเครื่องมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพราะ วิธีการเรียนรู้ด้วยเครื่องมีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลามากกว่า (พรทิวา , 2564) โดยทั่วไปในการวิเคราะห์อนุกรมเวลาจะใช้ตัวแปรเพียงตัวเดียว แต่ในวิธีของการเรียนรู้ด้วยเครื่องจะมีการใช้ตัวแปรอิสระ ( ) มาช่วยในการพยากรณ์ ในการวิจัยครั้งนี้จึงสนใจนำช่วงเวลาที่ช้ากว่ากัน (Lag) ของข้อมูลอนุกรมเวลา เข้ามาเป็นตัวแปรอิสระ โดยตัวแปรตาม ( ) คือ ข้อมูลอนุกรมเวลาชุดเดิม แล้วจึงนำไปวิเคราะห์ด้วยวิธีการเรียนรู้ด้วยเครื่อง ประกอบด้วย วิธีต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) ป่าสุ่ม (Random Forest) วิธีเพื่อนบ้านใกล้เคียงสุด K อันดับ (K Nearest-Neighbor: KNN) และวิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน (Support Vector Machine) โดยแต่ละวิธีจะทำการศึกษาเกี่ยวกับการวัดความถูกต้องและความผิดพลาดในการจำแนกข้อมูล Lai et al. (2023) งานวิจัยนี้เกี่ยวกับการพยากรณ์สถานการณ์ปัจจุบันของโควิด 19 โดยใช้ข้อมูลน้ำเสีย ให้ผู้ป่วยโควิด 19 เป็นตัวแปร และให้ปริมาณไวรัสในตัวอย่างน้ำเสียเป็นตัวแปร ผู้วิจัยไม่ทราบตัวแปร จึงได้ใช้วิธีช่วงเวลาที่ช้ากว่ากัน (Lag) เอามาช่วยในการพยากรณ์ตัวแปร พอทราบค่าได้นำไปพยากรณ์ด้วยวิธีการเรียนรู้ด้วยเครื่อง ประกอบไปด้วย แบบจำลองอารีแมกซ์ (Autoregressive Integrated Moving Average with Exogenous Variables : ARIMAX) และการเรียนรู้ด้วยเครื่องจากชุดข้อมูลแบบลำดับเวลา (Time Series Machine Learning : TSML) โดยเทคนิคที่ดีที่สุด คือ วิธีการเรียนรู้ด้วยเครื่องจากชุดข้อมูลแบบลำดับเวลา พรทิวา (2564) งานวิจัยนี้เกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลาด้วยเทคนิคทางการเรียนรู้ของเครื่อง โดยเปรียบเทียบวิธีพยากรณ์ออกเป็น 3 เทคนิคประกอบไปด้วยเทคนิควิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Linear Regression) วิธีต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) และ วิธีป่าสุ่ม (Random Forest) โดยใช้การคัดเลือกเทคนิคที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการพยากรณ์โดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ยของค่าสัมบูรณ์เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อน (Mean Absolute Percentage Error, MAPE) ต่ำที่สุดผลวิจัยพบว่าการเปรียบเทียบเทคนิคระหว่างวิธีต้นไม้ตัดสินใจ วิธีป่าไม้สุ่ม และ การถดถอยพหุคูณ สำหรับการพยากรณ์ยอดขายรวมรายวันแยกตามรายสินค้าและจำนวนผู้เสียชีวิตรายใหม่จาก สถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทยพบว่าเทคนิคให้ค่า MAPE เฉลี่ยต่ำที่สุดคือ เทคนิคป่าสุ่ม Kayode-Ajala. (2022) งานวิจัยนี้เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้อัลกอริทึมการเรียนรู้ของเครื่อง ในการตรวจจับเว็บไซต์ที่เป็นแฟร์ชิ่ง ซึ่งใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยเครื่องประกอบด้วย วิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน (Support Vector Machine) วิธีเพื่อนบ้านใกล้เคียงสุด K อันดับ (K Nearest-Neighbor: KNN) วิธีต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Trees) และ วิธีป่าสุ่ม (Random Forest) ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดคือ วิธีเพื่อนบ้านใกล้เคียงสุด K อันดับ Ballı (2021) งานวิจัยนี้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลของการระบาดโควิด-19 และการพยากรณ์จำนวนผู้ติดเชื้อรวมในระยะสั้นๆ โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้ด้วยเครื่องประกอบวิธีการถดถอยเชิงเส้น (Linear regression) วิธีโครงข่ายประสาทเทียมแบบเพอร์เซ็ปตรอนหลายชั้น (multi-layer perceptron) วิธีป่าสุ่ม (random forest) วิธีนาอีฟ เบย์ (Naive Bayes) และ วิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน (Support Vector Machine) พบว่าเทคนิคให้ค่า MAPE เฉลี่ยต่ำที่สุดคือ วิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน Bemthuis et al. (2023) งานวิจัยนี้เกี่ยวกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems) กำลังพัฒนาไปในทิศทางที่ซับซ้อนมากขึ้น โดยมุ่งหวังที่จะทำให้การตัดสินใจเป็นไปโดยอัตโนมัติมากที่สุด จึงวิธีการที่ใช้เทคนิคการจำแนกประเภทด้วยต้นไม้การตัดสินใจ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้เทคนิคสนับสนุนเวกเตอร์แมชชีน การทดลองของเราพบว่า วิธีการของเรามีความแม่นยำและความยืดหยุ่นในด้านการดึงกฎทางธุรกิจ ต้นไม้การตัดสินใจ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการเรียนรู้ด้วยเครื่องจากข้อมูลอนุกรมเวลา โดยวิธีการช่วงเวลาที่ช้ากว่ากัน ซึ่งประกอบไปด้วยวิธีต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) วิธีป่าสุ่ม (Random Forest) วิธีเพื่อนบ้านใกล้เคียงสุด K อันดับ (K Nearest-Neighbor: KNN) และวิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน (Support Vector Machine) โดยพิจารณาค่าเฉลี่ยของค่าคาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย (Mean Square Error: AMSE) และค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ (Mean Absolute Percentage Error: AMAPE) เป็นเกณฑ์ในการวัดประสิทธิภาพของแบบจำลอง และเป็นแนวทางการในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพด้วยวิธีการเรียนรู้ด้วยเครื่อง เพื่อตัดสินใจในการเลือกแบบจำลองที่ดีที่สุด
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
Cancer is one of the major health issues in Thailand, particularly as the country enters an aging society. The risk of chronic diseases among the elderly often results in limitations in treatment, making it difficult for most patients to achieve a complete recovery. This necessitates continuous care and the provision of accurate information and guidance about cancer. However, current health record systems for patients lack effective interconnectivity, which hinders data analysis and the development of patient care models. Additionally, incorrect information about cancer spread across social media can lead to misunderstandings among elderly patients. To address these issues, researchers have developed a chatbot system that utilizes Natural Language Processing (NLP) technology to understand human language and accurately respond to questions about elderly cancer patient care. The chatbot provides reliable and up-to-date information based on medical knowledge sourced from a database reviewed by healthcare professionals. Furthermore, a web application has been developed to record and analyze patient assessments according to medical standards, enabling healthcare providers to plan and develop appropriate treatment approaches in a better way. This system also facilitates data sharing and connectivity across hospital systems, allowing information to be used to enhance the precision and modernity of treatment approaches. In addition, the chatbot acts as an assistant, providing information and guidance to patients, reducing the workload of healthcare staff in answering questions and encouraging patients to take a more active role in managing their own health.
วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
This project aims to design and develop an eye-tracking system to facilitate communication for paralyzed immobile patients. The system is designed to enable patients to convey their needs to caregivers or family members by detecting and tracking eye movements using the Tobii Eye Tracker 5 device. This approach serves as an alternative communication method, replacing the physical movement or speech of paralyzed patients. The system effectively detects and tracks eye movements at a distance of 55 to 85 centimeters and is designed for installation on a computer to ensure ease of use. The program interface consists of three main sections: (1) a set of emotions, (2) a set of needs, and (3) a set of additional needs. It supports input from a virtual keyboard in both Thai and English and allows users to specify additional needs through eye-tracking-enabled typing. Furthermore, the system can generate synthetic speech for text that is difficult to pronounce aloud, send notification messages via the Line application, and store usage data in a database presented in a dashboard format. System testing revealed that the optimal detection distance ranges from 65 to 75 centimeters, as this range yields an error rate of no more than 1 percent. The system accurately responds to eye movements for communication through sound within 3 seconds when interacting with various function buttons. This eye-tracking system effectively enables paralyzed immobile patients to communicate their emotions and needs, facilitating better understanding and interaction between patients and their caregivers or family members.
คณะวิทยาศาสตร์
This research will begin with a review of literature and related studies to examine existing technologies and methods for hand gesture recognition and their applications in controlling electronic devices such as drones, robots, and gaming systems. Subsequently, a hand gesture recognition system will be designed and developed using machine learning and computer vision techniques, with a focus on creating an algorithm that operates quickly and accurately, making it suitable for real-time control. The developed system will be tested and refined using various simulated scenarios to evaluate its efficiency and accuracy in diverse environments. Additionally, a user-friendly interface will be developed to ensure accessibility for all user groups. The research will also incorporate qualitative studies to gather feedback from both novice users and experts, which will contribute to further system improvements, ensuring it effectively meets user needs. Ultimately, the findings of this research will lead to the development of a functional prototype for gesture-based control, which can be applied in industries and entertainment. This will contribute to advancements in innovation and new technologies in the future.