Zero-waste management is crucial for sustainable food systems, promoting the use of agricultural by-products like rice bran. Rich in bioactive polyphenols with antioxidant and antidiabetic properties, rice bran can enhance the nutritional value of food. Polyphenols can slow starch digestion by forming complexes with starch, making them useful for creating low-glycemic foods. While ultrasonication and freeze-thaw treatments have been beneficial individually, their combined effects on starch-polyphenol complexation remain understudied. This study aimed to evaluate the impact of combining these treatments on the interaction between rice starch and red rice bran polyphenols. The dual treatment increased the complexing index, altered functional properties, and affected granule morphology. Structural analysis indicated non-covalent interactions forming non-V-type complexes. Additionally, starch digestibility was reduced, lowering the estimated glycemic index (eGI) compared to the control. These findings suggest a sustainable and green approach to starch modification, with potential for developing functional food products and advancing zero-waste processing.
The growing emphasis on zero-waste management and sustainable food systems has highlighted rice bran as a valuable yet underutilized by-product rich in bioactive polyphenols with antidiabetic properties. Meanwhile, modifying starch to reduce its glycemic response is crucial for diabetes management. Green processing techniques, such as ultrasonication and freeze-thaw treatment, offer a sustainable way to enhance starch-polyphenol complexation, slowing starch digestion naturally. This study explores the synergistic effects of these methods on rice starch-polyphenol complexes from red rice bran, evaluating their structural, functional, and digestibility properties. The findings demonstrate that dual-treated complexes lower starch digestibility and glycemic index (eGI), making them promise for functional food development. Additionally, this research supports sustainable food processing while contributing to healthier, low-glycemic food alternatives
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
การจะเต้นบัลเลต์ได้ดีจำเป็นต้องมีการจัดระเบียบร่างกายที่ชัดเจน ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างมาตรฐานและแรงบันดาลใจสำหรับนักเรียนหรือนักเต้นชาวไทย ผู้วิจัยจึงสร้างอุปกรณ์นี้ขึ้นมาเพื่อให้นักเต้นและบุคคลทั่วไปสามารถเรียนรู้และตรวจสอบพัฒนาการในการเต้นของตัวเอง โดยเทียบเคียงกับนักบัลเลต์ที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติได้ โดยไม่จำเป็นที่จะต้องเรียนแบบ Face-to-face กับนักบัลเลต์ท่านนั้นโดยตรง เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงตัวเองให้มีความสามารถสูงขึ้นตามจุดประสงค์ของแต่ละคน โดยเครื่องนี้สามารถพกพาได้สะดวก เพียงแค่ต่ออุปกรณ์กับจอภาพแล้วเปิดเครื่องก็สามารถใช้งานได้ทันที
คณะวิทยาศาสตร์
EcoGrow Pellets คือ เม็ดดินปลูกพืชความพรุนสูง ที่ผลิตจาก ตะกอนดินอุตสาหกรรมเซรามิกส์ ผสมกับกระดูกไก่บดเพื่อเสริมแคลเซียมและแร่ธาตุสำคัญ ให้พืชเติบโตแข็งแรง เหมาะสำหรับการปลูกพืชทุกชนิด โดยเฉพาะพืชที่ต้องการโครงสร้างดินโปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี EcoGrow Pellets เป็นนวัตกรรมเม็ดดินเผาที่ออกแบบมาเพื่อให้การเพาะปลูกมีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยโครงสร้าง ที่มีความพรุนสูง ทำให้สามารถระบายน้ำและอากาศได้ดี ลดปัญหาดินแน่นหรือการขังน้ำ ซึ่งเป็นสาเหตุของรากเน่าและการเจริญเติบโตที่ชะงักงัน นอกจากนี้ เม็ดดินยังอุดมไปด้วย แคลเซียมและแร่ธาตุสำคัญจากกระดูกไก่บด ซึ่งช่วยเสริมสร้างโครงสร้างพืชและเพิ่มความแข็งแรงของระบบราก ทำให้พืชสามารถดูดซึมสารอาหารได้อย่างเต็มที่ ผลิตภัณฑ์นี้ผลิตจากตะกอนดินอุตสาหกรรมเซรามิกส์รีไซเคิล 100% ตามแนวทาง Zero Waste และ BCG Economy Model เพื่อลดของเสียและเพิ่มมูลค่าสิ่งเหลือใช้ ให้กลายเป็น วัสดุปลูกที่มีคุณค่าและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เหมาะสำหรับทั้งพืชผัก ไม้ดอก และพืชกระถาง ใช้งานง่าย สะอาด และปลอดภัย ช่วยให้การทำเกษตรเป็นเรื่องยั่งยืนมากขึ้นทั้งในแง่ของผลผลิตและสิ่งแวดล้อม
คณะวิศวกรรมศาสตร์
ปริญญานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการนำขุยมะพร้าวและน้ำยางพารามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในงานก่อสร้าง 2) เพื่อหาอัตราส่วนผสมขุยมะพร้าวและน้ำยางพาราที่เหมาะสม และ 3) เพื่อทดสอบคุณสมบัติของแผ่นฝ้าเพดานผสมขุยมะพร้าวและน้ำยางพาราภายใต้ มอก. 219-2552 เรื่องแผ่นฝ้ายิปซั่ม วิธีการดำเนินงาน มีขั้นตอนดังนี้ 1) การวางแผนการดำเนินงาน 2) การออกแบบส่วนผสมของแผ่นฝ้าเพดานผสมขุยมะพร้าวและน้ำยางพารา 3) จัดทำผลิตภัณฑ์แผ่นฝ้าเพดานผสมขุยมะพร้าวและน้ำยางพารา 4) นำผลิตภัณฑ์แผ่นฝ้าเพดานไปทดสอบคุณสมบัติตาม มอก. 219-2552 เรื่องแผ่นฝ้ายิปซั่ม และ 5) สรุปผลการทดสอบ