This research presents the development of an AI-powered system designed to automate the identification and quantification of dental surgical instruments. By leveraging deep learning-based object detection, the system ensures the completeness of instrument sets post-procedure. The system's ability to process multiple images simultaneously streamlines the inventory process, reducing manual effort and potential errors. The extracted data on instrument quantity and type can be seamlessly integrated into a database for various downstream applications.
เนื่องจากในปัจจุบันงานทางด้านทันตกรรมมีความซับซ้อนและหลากหลาย อีกทั้งมีการใช้เครื่องมือทางทันตกรรมต่างๆจำนวนมาก โดยหลังจากที่ถูกนำเครื่องมือมาใช้ในการรักษาตามสถานที่ โรงพยาบาลหรือคลินิกทันตกรรม ถ้าไม่มีการจัดการและตรวจสอบกับอุปกรณ์ต่างๆเหล่านี้อาจทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา เช่น การสูญหายของอุปกรณ์ ซึ่งอาจทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ใหม่โดยไม่จำเป็น ดังนั้นการตรวจสอบและนับเครื่องมือเป็นกระบวนที่สำคัญอย่างมากในการช่วยลดการสูญเสียของอุปกรณ์และปัญหาอื่นๆในการจัดการกับเครื่องมือทันตกรรม การตรวจสอบและนับจำนวนเครื่องมือหลังการใช้รักษาเป็นกระบวนการที่สำคัญอย่างมากโดยมีการใช้เวลาในการตรวจสอบ รวบรวม จัดการ และนับจำนวนของเครื่องมือทั้งหมดโดยมีการใช้บุคลากรของทางโรงพยาบาลหรือคลินิกทันตกรรมและใช้วิธีการนับด้วยมือ ทำให้เกิดล่าช้า อีกทั้งอาจจะเกิดการนับจำนวนเครื่องมือที่ไม่ถูกต้องครบถ้วน มีการบันทึกข้อมูลซับซ้อน และใช้ทรัพยากรคนในการทำงานที่เยอะเกินความจำเป็นอีกด้วยซึ่งส่งผลกระทบต่อการจัดการวางแผนในกระบวนการใช้เครื่องมือในครั้งต่อไป โดยกระบวนการตรวจสอบและนับจำนวนเครื่องมือนี้นอกจากจะช่วยในเรื่องของการระบุชนิดและนับเครื่องมือแล้ว ยังสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานเครื่องมือ วางแผนในการจัดซื้ออุปกรณ์ รวมถึงช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อเครื่องมือใหม่อีกด้วย จากปัญหาดังกล่าว โครงงานนี้จึงได้พัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์สำหรับระบุชนิดเครื่องมือทันตกรรมหัตถการเพื่อตรวจนับจำนวนด้วยวิธีการเรียนรู้เชิงลึก โดยเป็นการตรวจนับความครบถ้วนของอุปกรณ์ที่นำไปใช้ มีใช้วิธีการตรวจจับวัตถุ(Object Detection) ซึ่งการตรวจจับวัตถุช่วยให้สามารถตรวจจับอุปกรณ์ทันตกรรหัตถการทั้งหมดหลังจากการใช้งาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความแม่นยำ อีกทั้งสามารถตรวจนับเครื่องมือต่างๆได้พร้อมกันหลายๆภาพเพื่อช่วยลดเวลาและความล่าช้าในกระบวนการตรวจสอบและนับจำนวนเครื่องมือทั้งหมด รวมถึงข้อมูลจำนวนและชนิดของอุปกรณ์ สามารถส่งออกไปยังฐานข้อมูลเพื่อนำข้อมูลไปใช้งานต่อได้อีกด้วย
คณะวิศวกรรมศาสตร์
This project aims to propose a design for a red offal processing room in a pork processing plant that processes 500 pigs per day or 80 pigs per hour. Each pig weighs approximately 105 kilograms, with 3.47% of the weight consisting of red offal. The process involves separating liver, gall bladder, heart, lungs, spleen, and kidneys as required. These parts are then chilled in cold water to reduce their temperature to below 7°C before packaging and sealing. Sorting is based on the number of pieces and weight, depending on the type of product. The processing times of sorting chilling and packaging vary depending on the product's type and size. The design was developed using data collected from the current production line and referenced standards. The room layout was planned using Systematic Layout Planning (SLP) principles to analyze activity relationships within the room and define functional areas. Equipment sizes and the required number of operators were calculated to ensure optimal use of space. The red offal processing room was designed with an area of 56 square meters. After the layout design was completed, a 3D model was created using SketchUp 2024, and the workflow and operations were simulated and analyzed using Flexsim 2024
คณะวิศวกรรมศาสตร์
In this project, we introduce Power Grid Analyzer (PGAz), an open-source software package based on MATLAB, specifically designed for analyzing and controlling future power grids. Initially, PGAz is equipped with four fundamental features: power flow (PF), optimal power flow (OPF), small-signal stability analysis (SSSA), and time-domain simulation (TS). At this stage, Part I concentrates on the development of PF and OPF. The formats of our developed tool are presented, along with its command prompts. In this part, we have developed several conventional yet effective methods in the PGAz package to address PF and OPF problems, including techniques such as the Newton-Raphson method, Gauss-Seidel method, Interior Point Method, Iwamoto’s method, Fast Decoupled Load Flow, Genetic Algorithm, and Particle Swarm Optimization. Additionally, it emphasizes important aspects, algorithms, and various case studies that have been tested against IEEE benchmarks ranging from the IEEE 5-bus to the IEEE 300-bus test systems. The results demonstrate the capabilities of PGAz for future educational and research applications in PF and OPF. Finally, we outline a plan for developing Part II, which will mainly focus on SSSA and TS.
คณะวิศวกรรมศาสตร์
Inventing robots for the TPA Robotics Competition Thailand Championship 2024, game “Rice Way, Thai Way to the International Way (HARVEST DAY)”