The purpose of this research aims to guidelines the identity design for high-speed rail stations, which are divided into four steps: 1) Survey and analysis of identity at the high-speed train stations, including subway in Japan and Taiwan. 2) Comparison the perception of the environment by the questionnaire at BTS, MRT BL, Airport Rail Link (AERA1), and MRT PPL in Bangkok from passengers 800 passengers. 3) Survey and analysis the perception of identity at the MRT Blue Line by questionnaires 800 passengers at Wat Mangkorn, Sam Yod, Sanam Chai, and Itsaraphap stations. 4) To analysis with the descriptive statistics and one-way ANOVA. Study and survey of the high-speed rail environment from Bangkok to Nong Khai, then synthesize the identity design guidelines by 12 experts with structured interviews to summarize the conceptual framework for identity design for high-speed rail stations. The results shown that the identity of train stations in Japan and Taiwan is designed based on architectural and historical concepts that align with the local environment, society, and lifestyle near the stations. This design approach is evident at stations serving as significant tourist attractions and in the surrounding environment, including external buildings and nearby public transportation connections, as well as entrance and exit doors to the station. In summary, four types of identities have been identified: 1) The Identity Historical and Architectural 2) The Identity of Culture 3) The Identity from Cartoons and 4) The Identity of Art and Design
อัตลักษณ์บริเวณสถานีรถไฟเป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้างความแตกต่างในพื้นที่สาธารณะ และสะท้อนความเป็นตัวตนเฉพาะของชุมชน สังคม และวัฒนธรรมท้องถิ่น การนำเสนออัตลักษณ์ที่ชัดเจนผ่านการใช้ภาษาภาพส่งผลต่อการจดจำและการรับรู้ของผู้ใช้บริการ อีกทั้งยังเป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้างความรู้สึกนึกถึงถิ่นที่ (Sense of Place) ซึ่งเป็นการหยั่งรากลึกของการดำรงอยู่ในการศึกษาย่านชุมชน โดยการเชื่อมโยงระหว่างกายภาพและนามธรรมเข้าด้วยกัน (Marisa and Nopadon, 2022) การพัฒนาการออกแบบอัตลักษณ์บริเวณสถานีรถไฟมีต้นแบบจากต่างประเทศ ญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกที่ริเริ่มแนวคิดและพัฒนารถไฟความเร็วสูงจนเป็นต้นแบบให้กับระบบรถไฟความเร็วสูงทั่วโลก รถไฟความเร็วสูงสายแรก คือ รถไฟชินกันเซ็นสาย Tokaido Shinkansen ที่เปิดให้บริการในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2507 เชื่อมต่อระหว่างกรุงโตเกียวและนครโอซาก้า มีระยะทาง 553 กิโลเมตร ต่อมาในประเทศไต้หวันซึ่งมีรถไฟความเร็วสูงที่ใช้ขบวนรถไฟด้วยเทคโนโลยีจากประเทศญี่ปุ่น (ในขณะที่โครงสร้างพื้นฐานและระบบยังเป็นของเยอรมนี) ซึ่งมีความน่าสนใจด้วยเทคโนโลยีทั้งเอเชียและยุโรปโดยมีความเร็วติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก (กรมการขนส่งทางราง. 2561) รวมไปถึงรถไฟฟ้าที่เชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนในเมือง โดยสถานีรถไฟได้ถูกแบ่งออกตามพื้นที่การใช้งานของสถานี ได้แก่ ทางเข้าออก จุดประชาสัมพันธ์จำหน่ายตั๋ว ผนัง ทางเดิน เสา ป้ายบอกทาง แผนที่ และชานชลา จากพื้นที่ดังกล่าวนอกจากสัญลักษณ์บอกทาง ยังพบว่า บริเวณสถานีมีอัตลักษณ์รูปแบบตามถิ่นที่อยู่ของชุมชนบริเวณนั้น ช่วยสร้างความรู้สึกนึกคิด การรับรู้ต่อผู้ใช้บริการ โดยจากข้อมูลดังกล่าวจะเป็นแนวทางการศึกษาเปรียบเทียบด้านองค์ประกอบของสถานี รูปแบบอัตลักษณ์ การนำอัตลักษณ์ไปใช้บริเวณสถานี ด้วยอนาคตอันใกล้นี้ประเทศไทยกำลังจะมีรถไฟความเร็วสูงให้ใช้บริการ ในปัจจุบัน อยู่ในกระบวนการก่อสร้าง การศึกษาแนวทางการออกแบบอัตลักษณ์บริเวณสถานีรถไฟความเร็วสูง จึงเป็นสิ่งที่สามารถสร้างสรรค์ให้มีคุณค่าที่จะบอกถึงความเป็นตัวตน ถิ่นฐานเฉพาะ รวมถึงสถานที่สำคัญที่อยู่ใกล้เคียงสถานี เป็นการสร้างคุณค่าทางวัฒนธรรม รวมไปถึงการส่งเสริมการท่องเที่ยว และเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิต สถานีรถไฟในประเทศไทยมีคุณค่าทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น ด้วยการออกแบบที่สอดคล้องกับการใช้สอยและสภาพภูมิอากาศร้อนชื้น รวมถึงความงามในลักษณะพื้นถิ่น (ปริญญา ชูแก้ว, 2554) ตามหลักการกระบวนการสัมพันธ์การเรียนรู้พื้นที่ สภาพแวดล้อมต้องมีลักษณะที่เอื้อต่อการสร้างจินตภาพได้ง่าย เช่น การใช้ภูมิสัญลักษณ์ที่เป็นสัญญาณชี้แนะที่ช่วยในการรับรู้และเข้าใจ (วิมลสิทธิ หรยางกูร, 2556) การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและสำรวจอัตลักษณ์บริเวณสถานีรถไฟความเร็วสูงและรถไฟฟ้าในประเทศญี่ปุ่น ไต้หวัน และประเทศไทย โดยมุ่งเน้นการเปรียบเทียบรูปแบบอัตลักษณ์ พื้นที่ของสถานี วิธีการสร้างสรรค์ และการรับรู้จากผู้ใช้บริการ เพื่อนำมาพัฒนาแนวทางการออกแบบอัตลักษณ์สำหรับสถานีรถไฟความเร็วสูงสายกรุงเทพฯ-หนองคาย ซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน โดยผลการศึกษาที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการออกแบบอัตลักษณ์ของสถานีในด้านต่างๆ อาทิ การสร้างสัญลักษณ์ประจำสถานี การออกแบบตัวนำโชค (Mascot) การพัฒนาของที่ระลึก ตลอดจนสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องกับระบบรถไฟความเร็วสูง นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว ยกระดับคุณภาพชีวิต และสร้างคุณค่าทางวัฒนธรรมให้กับชุมชนและสังคมไทย อันจะนำไปสู่การพัฒนาประเทศในยุคไทยแลนด์ 4.0 อย่างยั่งยืน
คณะอุตสาหกรรมอาหาร
This study aims to investigate the co-fermentation process between lactic acid bacteria (LAB) and Saccharomyces cerevisiae in the production of sour beer, with a focus on its impact on product quality, including pH, organic acid content, sugar content, and sensory characteristics. In this experiment, selected LAB strains and S. cerevisiae were utilized under controlled fermentation conditions. The microbial ratio was optimized to enhance growth and the production of key compounds. The findings indicate that co-fermentation significantly reduces pH compared to fermentation with yeast alone. Furthermore, an increase in lactic acid was observed due to sugar consumption by LAB, contributing to the distinctive flavor profile of sour beer.
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
This study examines the effects of chemical mutagens, ethyl methane sulfonate (EMS) and colchicine in inducing mutations in Chrysanthemum spp. through tissue culture techniques. In vitro cultures of Chrysanthemum were treated with various concentrations of EMS and colchicine to assess their impact on shoot regeneration and mutation frequency. Results indicated that EMS significantly increased phenotypic variability, leading to enhanced flower color and size, while colchicine treatment effectively induced polyploidy, resulting in plants with greater flower size and overall vigor. Morphological assessments, along with genetic analyses using molecular markers, confirmed the mutations associated with these treatments. The integration of chemical mutagenesis with tissue culture presents a promising approach for developing novel Chrysanthemum varieties with improved ornamental traits.
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
Efficient durian orchard development requires integrating knowledge, technology, and innovation from farmers and academics to cope with environmental changes and market demands. The Durian Web-based Learning Hub is an online learning platform developed to serve as a central hub for knowledge transfer from experts and as a space for experience exchange among farmers. Users can access learning resources conveniently and continuously. This platform is part of the Innovation Project for Production and Marketing Information Management Innovation for Enhancing the Quality of Durian Production Entering into Premium Markets, supported by the Program Management Unit for Area-Based Development (PMUA)