A smartphone-based colorimetric sensor for quantitative detection of pyridoxine (Vitamin B6, VB-6) in functional drink samples has been realized by developing double layer hydrogel. Electrostatic interaction initiates the cross-linking and produces double layer hydrogel.
จากสภาพการทำงานและการใช้ชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน ที่มีความกดดัน เคร่งเครียด ต้องทำงานแข่งกับเวลา ส่งผลให้ผู้คนเริ่มมีปัญหาสุขภาพกันมากขึ้น เนื่องจากขาดการดูแลตัวเองที่ดี การอดอาหาร ตลอดจนการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ เพื่อตอบสนองต่อสังคมที่เร่งรีบ จึงทำให้ในปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์เสริมอาหารได้ถูกผลิตขึ้นมาในหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นอาหารเสริมในรูปแบบเม็ด หรือเครื่องดื่มที่มีการเสริมวิตามิน ซึ่งผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเหล่านี้ มีจำหน่ายอย่างแพร่หลาย หาซื้อได้ง่ายตามร้านขายยา และร้านสะดวกซื้อต่างๆ จึงทำให้ผู้คนเริ่มให้ความนิยมในการรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเหล่านี้ หนึ่งในนั้นก็ คือ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีการเสริมวิตามินบี6 ประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่มีข้อกำหนดในการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารเสริม และเครื่องดื่มเสริมวิตามิน ส่งผลให้มีผู้ประกอบการบางรายเติมสารอาหารหรือวิตามินในปริมาณที่ไม่ เป็นไปตามที่ระบุบนฉลาก ดังนั้นจึงมีความจำเป็นในการวิเคราะห์หาสารจำพวกวิตามินในผลิตภัตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อเป็นการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน และปลอดภัยต่อผู้บริโภค ด้วยเหตุผลข้างต้นนี้ จึงได้มีแนวคิดที่จะพัฒนาวิธีตรวจวัดเชิงสือย่างง่ายในการหาปริมาณวิตามินปี6 ในเครื่องดื่มเสริมวิตามินบี6 ที่สามารถวัดได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ โดยจะทำการสร้างเม็ดบีท ของเคอร์คูมินด้วยวิธี reverse sphenfication เพื่อใช้เป็นตัวรับรู้เชิงสี และใช้ร่วมกับการตรวจวัดด้วยการประมวลผลภาพถ่าย
คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ
A natural representation of new beginnings.
คณะอุตสาหกรรมอาหาร
Fish gelatin is increasingly recognized as an alternative source of gelatin, but its use has been limited due to weak gelling properties. To address these issues, the effect of furcellaran, a gelling agent, was examined at various levels (25-100% FG substitution) on the structural and physicochemical properties of FG gels. As the amount of FUR increased to 25%, the FG/FUR gel showed improved hardness and gel strength (P<0.05). Additionally, increasing FUR levels led to higher gelling and melting points, showing a dose-dependent relationship. Microstructural analysis revealed that adding FUR created a denser gel network with smaller gaps. SAXS scattering intensities also increased as FUR concentration rose. Overall, adding FUR improved the gelling properties of FG without negatively affecting springiness and syneresis, enhancing gel strength and gelling temperature.
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของน้ำที่ผ่านการฉายพลาสมาในเวลาที่แตกต่างกันต่อคุณภาพการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่ เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพความงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่