กลับไปที่นวัตกรรมทั้งหมด
เจลลี่จากคีเฟอร์น้ำ
Water Kefir Jelly
@คณะอุตสาหกรรมอาหาร
#KLLC 2024
#Healthcare and Wellness
รายละเอียด
ในการทำงานวิจัยนี้ ผู้จัดทำได้ทำการหมักคีเฟอร์ในน้ำตาล 3 ชนิด ได้แก่ น้ำตาลทราย น้ำตาลหล่อฮังก๊วย และน้ำตาลหญ้าหวานกับผลไม้สด และนำไปเคี่ยวกับเจลลาตินโดยที่ยังรักษาสภาพเซลล์ของโพรไบโอติกบางส่วนไว้ได้ ก่อนจะทำเจลลี่ได้มีการนำน้ำคีเฟอร์ที่หมักแล้วไปตรวจหาpH ค่าความหวานของน้ำตาล(Brix) และตรวจสอบจำนวนโคโลนีของเชื้อที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อประเภทMRS ก่อนที่จะใส่ผลไม้ ด้วยวิธีการ Plate Count ก่อนจะนำไปทำเจลลี่ หลังจากทำคีเฟอร์น้ำในรูปแบบเจลลี่สำเร็จได้มีการตรวจวัดค่าสีด้วยระบบ CLE และตรวจวัดเนื้อสัมผัส(Texture)ของเจลลี่
วัตถุประสงค์
เนื่องจากในประเทศไทยคีเฟอร์ยังไม่ได้ถือว่าเป็นที่นิยม โดยปกติแล้วในคีเฟอร์มีโพรไบโอติกที่หลากหลาย สำหรับคนที่ไม่เคยกินอาหารประเภทนี้ก็อาจส่งผลให้เกิดอาการท้องไส้ปั่นป่วน การที่เปลี่ยนคีเฟอร์ให้มาอยู่ในรูปแบบเจลลี่ ประกอบกับการที่ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการปลูกผลไม้หลากหลายชนิด ทำให้สามารถหมักคีเฟอร์น้ำกับผลไม้หลากหลายชนิด จึงได้รสชาติของเจลลี่ที่แตกต่างกันไป และเป็นการเพิ่มคุณค่าให้วัตถุดิบในประเทศอีกด้วย อีกทั้งเรายังได้โพรไบโอติกที่ดีต่อระบบทางเดินอาหาร ทำให้ผู้ที่ต้องการโพรไบโอติกโดยการหัดทานคีเฟอร์สามารถทานได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังอร่อยและมีประโยชน์ต่อสุขภาพอีกด้วย
ผู้จัดทำ
เกศรินทร์ พูนเพิ่ม
KESARIN POONPOEM
#นักศึกษา
สมาชิก
กฤตชานน ไชยภักดี
KITCHANON CHAIPAKDEE
#นักศึกษา
สมาชิก
ฉัตรภูมิ สีหาวัฒน์
CHATPHUM SEEHAWAT
#นักศึกษา
สมาชิก
ณัฏฐนันทน์ อภิวศินสุข
NATTANAN APHIWASINSUK
#นักศึกษา
สมาชิก
ทัตพิชา กลมเกลี้ยง
THATPICHA KLOMKLEANG
#นักศึกษา
สมาชิก
นักรบ สันทวี
NAKROB SANTHAWEE
#นักศึกษา
สมาชิก
ปิยะวัฒน์ แพบุญประเสริฐ
PIYAWAT PHAEBUNRASOET
#นักศึกษา
สมาชิก
พัชรวี คำพา
PATCHARAWEE KHAMPHA
#นักศึกษา
สมาชิก
รชต จันทร์ผอง
RACHATA JUNPONG
#นักศึกษา
สมาชิก
สิริกัญญา กาญจนพิบูลย์
SIRIKANYA KANCHANAPIBOON
#นักศึกษา
สมาชิก
หฤทศ์ชนน สุกุณา
HARITCHANON SUKUNA
#นักศึกษา
สมาชิก
อชิระ พิเศษตระกูล
ACHIRA PISETTRAKUL
#นักศึกษา
สมาชิก
เอกภพ ทวีมา
EKKAPOP TAWEEMA
#นักศึกษา
สมาชิก
ทัศพร โตธนะเกษม
Tataporn Todhanakasaem
#อาจารย์
อาจารย์ที่ปรึกษา
โหวตนวัตกรรมนี้
กำลังดาวน์โหลด
Powered By KMITL Innovation Project