กลับไปที่นวัตกรรมทั้งหมด
จาวตาลบ้านระจัน
Jaow Taan Baan Ra Chan
@คณะอุตสาหกรรมอาหาร
#KLLC 2024
#Healthcare and Wellness
รายละเอียด
เมล็ดของตาลเป็นสิ่งที่ผู้คนมองข้าม ซึ่งเมล็ดของตาลสามารถนำมาเพาะให้เกิดจาวตาลและสามารถนำมารับประทานได้จาวตาลสดไม่สามารถเก็บไว้ได้นาน คนในสมัยก่อนจึงคิดวิธีการถนอมจาวตาโดยการนำจาวตาลมาเชื่อมซึ่งสามารถเก็บไว้ได้ประมาณ3เดือน แต่จาวตาลเชื่อมมีน้ำเชื่อมที่เหนียวเหนอะหนะ จึงนำจาวตาลเชื่อมมาอบด้วยการ dehydration คือ การดึงน้ำออก เป็น วิธีการถนอมอาหารทำให้จาวตาลเชื่อมเก็บไว้ได้นานขึ้นและสะดวก ต่อการกินมากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
ตาลหรือตาลโตนด เป็นพืชที่ชอบขึ้นในที่โล่งเติบโตในสภาพที่ดินแห้งแล้งมีประโยชน์มากมาย มีผลผลิตที่สามารถเก็บไปทำขนมและรวมถึงเมล็ดที่สามารถนำไปเพาะให้เกิดจาวตาลก็สามารถรับประทานเราจะนำจาวตาลมาศึกษาต่อเนื่องจากจาวตาลเป็นส่วนที่ผู้คนทิ้งมาโดยตลอดเพราะคิดว่ากินไม่ได้เเล้วในบ้านที่ทำขนมตาลก็จะมีการกองเมล็ดเพื่อที่จะรอทิ้งปัญหานี้เราจึงเลือกที่จะมาศึกษาว่าเมล็ดของตาลนั้นสามารถนำไปทำอะไรที่เกิดประโยชน์ได้หรือไม่ จึงค้นพบว่าเมล็ดตาลสามารถนำไปเพาะให้เกิดจาวตาลได้ซึ่งการเพาะจาวตาลนั้นเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ทำสืบต่อกันมา จาวตาลสามารถนำไปทำอาหารเพื่อบริโภคได้ลักษณะของจาวตาลจะมีรูปทรงรีแบนสีขาวเหลืองจะ ซึ่งเราจะมาทำการแปรรูปจาวตาลในรูปแบบต่างๆเพื่อที่จะหาสิ่งอื่นใหม่ให้แก่บุคคลที่มีเมล็ดตาลและทิ้งเมล็ดตาลให้สูญเปล่าเราจะมาศร้างคุณค่าของเมล็ดตาล
ผู้จัดทำ
ศิรประภา โพธิ์ศรี
SIRAPRAPHA PHOSRI
#นักศึกษา
สมาชิก
พิมพ์ชนก แก้วคำ
PIMCHANOK KAEWKHUM
#นักศึกษา
สมาชิก
ชาลิสา เพ็ชร์มา
CHALISA PHETMA
#นักศึกษา
สมาชิก
ฐิตาภรณ์ เทียมเพ็ง
THITAPORN THEAMPENG
#นักศึกษา
สมาชิก
ฐิตินันท์ แซ่เตียว
TITINAN SAETIAW
#นักศึกษา
สมาชิก
ฐิติรัตน์ อินทร์จำนงค์
THITIRAT AINCHAMNONG
#นักศึกษา
สมาชิก
ณัฐมล สิริวรรณภา
NUTTAMOL SIRIWANNAPA
#นักศึกษา
สมาชิก
ธนวัฒน์ เชิงชั้น
THANAWAT CHOENGCHAN
#นักศึกษา
สมาชิก
นรินทร์ดา หอมประเสริฐ
NARINDA HOMPRASERD
#นักศึกษา
สมาชิก
ปิติพงษ์ แสนศิริพันธ์
PITIPHONG SANSIRIPHAN
#นักศึกษา
สมาชิก
พงษ์เสริฐ ศรีพรหม
Pongsert Sriprom
#อาจารย์
อาจารย์ที่ปรึกษา
โหวตนวัตกรรมนี้
กำลังดาวน์โหลด
Powered By KMITL Innovation Project