Back

Experimental Design For a PLC Training Kits

การออกแบบการทดลองสำหรับชุดฝึก พีแอลซี

@คณะวิศวกรรมศาสตร์

#KLLC 2024
#Industry 4.0
การออกแบบการทดลองสำหรับชุดฝึก พีแอลซี

Details

The purpose of this thesis on the experimental design for the PLC training kits is to create an experiment for the PLC training kits to be used in studying and practicing the skills of using PLC with the training kits. This thesis consists of 2 parts: a Simulator program for working with PLCs and an experimental worksheet. The Simulator program simulates the operation of the process in the training set. By using GT Designer3 program to design and using GT soft GOT to display the results, it will work with GX work3 program for command programming. For the experimental worksheet, it is used as a guide for conducting experiments. It will consist of an introduction to the basic program, experimental worksheets, and exercises. The experiments will include training in multiple languages such as Ladder, ST and SFT to achieve the objectives of this thesis. At present, the author has designed a Simulator program and an experimental worksheet. to prepare to achieve the objectives within the specified time.

Objective

ในปัจจุบันระบบควบคุมอัตโนมัติ เข้ามามีส่วนร่วมในภาคการศึกษา และระบบอุตสาหกรรมมากขึ้นดังนั้นการเรียนการสอนในปัจจุบันจึงต้องพัฒนาตามการเปลี่ยนแปลง ชุดฝึก  พีแอลซี จึงเป็นอีกตัวเลือกสำหรับใช้ในการประกอบการเรียนการสอนในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ แต่ในปัจจุบันมีชุดฝึกที่ใช้ด้านการเรียนการสอนที่ได้รับบริจาคมายังไม่ถูกนำมาใช้งาน อีกทั้งยังขาดเอกสารและสื่อการสอนในการนำมาใช้ในการเรียนการสอน
	ชุดฝึก พีแอลซี แต่ละชุดเป็นชุดฝึกที่จำลองการทำงานระบบอัตโนมัติ และ ออกแบบการเขียนโปรแกรมตามหลักสูตรการศึกษา มาเป็นต้นแบบแนวทางการสร้าง ในสื่อการเรียนการสอนของอาจารย์แต่ละท่านนั้น มีชุดฝึกควบคุมระบบอัตโนมัติ มาเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน แต่เนื่องจากมีนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ทำให้ชุดฝึกไม่เพียงพอต่อความต้องการ ดังนั้นเพื่อให้การเรียนการสอนครอบคลุมกับนักศึกษาทุกคน จึงมีแนวคิดที่จะจัดทำกรออกแบบการทดลองชุดฝึก พีแอลซี ขึ้นมาเพื่อให้ชุดฝึกที่มีอยู่เพียงพอสำหรับการเรียนการสอน และ เสริมสร้างศักยภาพในด้านการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 
	จากเหตุผลดังกล่าวคณะผู้จัดทำจึงนำความรู้ที่ได้ศึกษาด้านระบบอัตโนมัติ หรือชุดฝึกพื้นฐานที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์สร้าง เป็นสื่อการสอนให้กับนักศึกษา และแนวคิดที่จัดทำการออกแบบการทดลองชุดฝึก พีแอลซี ขึ้นมา โดยอ้างอิงจากชุดฝึกมาตราฐาน เพื่อให้การศึกษามีประสิทธิภาพ และ สามารถนำไปต่อยอดในอนาคตต่อไป

Project Members

ธนันดร สโมสร
THANANDON SAMOSON

#นักศึกษา

Member
กฤษณพงศ์ หน่วยจันทึก
KRITSANAPONG NUAIJANTHUEK

#นักศึกษา

Member
ปนัดดา สืบเสนาะ
PANATDA SUEBSANOR

#นักศึกษา

Member
สุธรรม สัทธรรมสกุล
Sutham Satthamsakul

#อาจารย์

Advisor

Vote for this Innovation!

Loading...