Back

Impact of Biodiesel on Diesel Vehicle Thermal Efficiency and Soot Reduction

ผลกระทบของน้ำมันไบโอดีเซลต่อประสิทธิภาพเชิงความร้อนและการลดปริมาณเขม่าควันดำจากรถยนต์ดีเซล

@คณะวิศวกรรมศาสตร์

#KLLC 2024
#BCG (Bio-Circular-Green Economy)
ผลกระทบของน้ำมันไบโอดีเซลต่อประสิทธิภาพเชิงความร้อนและการลดปริมาณเขม่าควันดำจากรถยนต์ดีเซล

Details

     The objective of this research is to study the effect on brake thermal efficiency and the reduction of soot generated from the combustion of diesel engines. By using biodiesel B100 compared to standard diesel B7 in order to reduce air pollution problems caused by PM2.5 and the greenhouse effect problem, using alternative energy from biofuels produced from plants helps reduce global warming problems from the growing process of palm trees, which can reduce the amount of carbon dioxide through photosynthesis.
    The study found that cars using B100 biodiesel have a higher brake specific fuel consumption than cars using standard B7 diesel because B100 biodiesel has a lower heating value than standard diesel fuel. However, cars using B100 biodiesel have brake specific energy consumption and brake thermal efficiency that are similar to those of cars using standard B7 diesel.
     It was also found that using B100 biodiesel can reduce soot caused by engine combustion. This is because the oxygen atoms in the biodiesel molecule contribute to more complete combustion. The amount of soot was greatly reduced by approximately 50 percent.

Objective

     แหล่งพลังงานส่วนใหญ่ที่ใช้ในปัจจุบันนั้นเป็นพลังงานที่มาจากการเผาไหม้ (Combustion) ของเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil fuels) เช่น ถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติซึ่งเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon compounds) การเผาไหม้ของไฮโดรคาร์บอนก่อให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide) ซึ่งส่งผลให้เกิดสภาวะเรือนกระจก (Greenhouse effect) การใช้พลังงานทางเลือกจากเชื้อเพลิงชีวภาพที่ผลิตจากพืชช่วยลดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) 
    นอกจากนี้การเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่สมบูรณ์ก็ทำให้เกิดเขม่าที่เป็นต้นเหตุของมลภาวะทางอากาศในเมืองใหญ่ การใช้เชื้อเพลิงชีวภาพสามารถช่วยลดปัญหามลภาวะทางอากาศได้จากการเผาไหม้ที่สมบูรณ์กว่าการใช้น้ำมันดีเซลมาตรฐาน

Project Members

ธัญญะ งามประเสริฐโสภณ
THANYA NGAMPRASERTSOPHON

#นักศึกษา

Member
สรวิศ มลวิสัย
SORRAWIT MONWISAI

#นักศึกษา

Member
ณภัทร ปาละวัธนะกุล
NAPAT PALAVATHANAKUL

#นักศึกษา

Member
ปรีชา การินทร์
Preechar Karin

#อาจารย์

Advisor

Vote for this Innovation!

Loading...