Back

Increasing the Quantity and Quality of Caladium with Tuber Cutting and Plant Growth Regulators Application

การเพิ่มปริมาณและคุณภาพของบอนสีโดยการผ่าหัวร่วมกับการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

@คณะเทคโนโลยีการเกษตร

#Cluster 2024
#BCG (Bio-Circular-Green Economy)
การเพิ่มปริมาณและคุณภาพของบอนสีโดยการผ่าหัวร่วมกับการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต

Details

This experiment aimed to study the effects of tuber cutting and plant growth regulators (PGRs) of Caladium. The experiment was planned as a 2x5 Factorial in CRD consisting of 2 factors: Factor 1, the size of tuber cutting in diameter of 0.5 and 1 cm, and Factor 2, the type of PGRs consisting of GA3 and IBA at concentrations of 100 and 150 ppm, by using tap water as a control treatment. The experiment was divided into three according to the dormancy period, i.e., 1) the dormancy period (October), 2) the post-dormant period (March), and 3) the pre-dormant period (May).From the results of the 3 dormant stages, it was found that the survival rate and the days to sprouting were similar in all 3 stages. The dormant 1 cm tuber cutting combined with IBA at 150 ppm showed better stem growth than other treatments in terms of plant height, canopy width and number of leaves per plant after 4 months of planting, which is most suitable for the production of Caladium as a potted plant. The leaf color and chlorophyll A and B content were found that during the dormant and post dormant stages, the brightness (L*), leaf color was light green (a*), and the amount of chlorophyll B at than the period before dormancy which in the period before dormancy had a higher amount of chlorophyll A. While the 1 cm diameter tuber cutting in the dormant phase combined with the use of IBA at 100 ppm resulted in a larger new tuber size than both phases. The new tuber and the amount of RS was greater than the pre-dormant stage, while the pre-dormant phase had higher TNC content than both phases.

Objective

การขยายพันธุ์บอนสีเพื่อจ้าหน่ายเป็นไม้กระถางโดยปกติใช้ระยะเวลานาน 4-6 เดือนถึงพร้อม จ้าหน่ายเป็นต้นบอนสี ขนาดกระถาง 4 - 6 นิ้ว ระยะเวลาขึ้นอยู่กับแต่ละสายพันธุ์ การน้าหัวบอน สีมาปลูกจะได้จ้านวน 1-2 ต้นต่อกระถาง โดยใช้ระยะเวลาปลูกเลี้ยงนาน 6 เดือน ซึ่งปัจจุบัน เกษตรกรนิยมขยายพันธุ์โดยใช้วิธีการผ่าหัวพันธุ์ของบอนสี เพื่อให้ได้จ้านวนต้นเพิ่มมากขึ้น และใช้ ระยะเวลาในการปลูกเลี้ยงไม่นาน ประมาณ 4-5 เดือน (สุรเดช สดคมข้า. 2563) นอกจากนี้การใช้ สารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มออกซินและจิบเบอเรลลิน ยังช่วยเร่งการงอกของหัวพันธุ์ การ เจริญเติบโตทางล้าต้น การขยายขนาดหัว และการสะสมอาหารในหัวของไม้ดอกไม้ประดับหลายชนิด (Bose,T.K. et.al. 1980) โดยการขยายพันธุ์ด้วยวิธีการผ่าหัวนิยมใช้ระยะเวลาหลังการพักตัวของไม้ ประดับประเภทหัว เนื่องจากมีการสะสมอาหารจากส่วนเหนือดินไปเก็บไว้ยังบริเวณหัวใต้ดินท้าให้หัว มีขนาดใหญ่ ท้าให้การผ่าแบ่งหัวพันธุ์ได้จ้านวนต้นที่มากขึ้น (โสระยา ร่วมรังษี. 2558) ซึ่งในปัจจุบัน ยังไม่มีรายงานในบอนสีมากนัก ดังนั้นการวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตและ ขนาดชิ้นส่วนในการผ่าหัวของบอนสีเพื่อการผลิตเป็นไม้กระถาง ในช่วงฤดูที่แตกต่างกันต่อการผ่าหัว พันธุ์ที่เหมาะสมกับการผลิตบอนสีในเชิงพาณิชย์

Project Members

ชมัยพร อนุวงศ์
Chamaiporn Anuwong

#อาจารย์

Member

Vote for this Innovation!

Loading...