Back

Optimization for Resistance Welding between Austenitic Stainless Steel Pipe and Ferritic Stainless Steel Bracket

การหาเงื่อนไขที่ดีที่สุดสำหรับการเชื่อมความต้านทานท่อเหล็กกล้าไร้สนิมออสเทนนิติกและแผ่นเหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติก

@คณะวิศวกรรมศาสตร์

#KLLC 2024
#Industry 4.0
การหาเงื่อนไขที่ดีที่สุดสำหรับการเชื่อมความต้านทานท่อเหล็กกล้าไร้สนิมออสเทนนิติกและแผ่นเหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติก

Details

To find the optimal conditions for resistance welding, three variables are considered: electric current, pressure, and time. Achieving the best conditions relies on statistical principles, involving the design of experiments, particularly The 2k factorial design. Additionally, the design includes fixtures for resistance spot welding and shear compression testing.
The welded pieces are completely welded together between the steel sheets and the tube without any deformation or failure. The experimental parameters are constrained within specific ranges: electric current between 3600 and 4200 amperes, electrode force between 1600 and 2000 newtons, and time between from 10 to 12 cycles.
The analysis involves extracting shear compression values from the experimental conditions. Subsequently, significant variables are identified through statistical analysis. These variables contribute to determining the optimal welding conditions that yield the highest shear strength. The study also encompasses an investigation into the microstructure of the welded joint under the identified optimal welding conditions.

Objective

อุตสาหกรรมรถยนต์ในปัจจุบันมีแนวโน้มเติบโตขึ้น ส่งผลให้ผู้ประกอบการต้องการเพิ่มกำลังการผลิตเพื่อให้สอดคล้องต่อปริมาณความต้องการที่เพิ่มมากขึ้น ท่อไอดีเป็นอะไหล่ชิ้นส่วนหนึ่งของรถยนต์ ในปัจจุบันท่อนี้ใช้การเชื่อมโลหะโดยใช้แก๊สเฉื่อย (Metal inert gas welding : MIG) ซึ่งให้อัตราการผลิตต่ำ เพื่อให้ทันต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้นจึงต้องการเปลี่ยนเป็นใช้การเชื่อมความต้านทาน (Resistance Welding) เนื่องจากการเชื่อมความต้านทานนั้นตอบโจทย์เรื่องการให้อัตราการผลิตที่สูงมากกว่า ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นการหาเงื่อนไขที่ดีที่สุดสำหรับการเชื่อมความต้านทาน เพื่อให้ได้ค่าความต้านทานแรงกดเฉือนของรอยเชื่อมสูงสุด โดยใช้วิธีการทางสถิติในการออกแบบการทดลอง (Design of Experiment) เพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าความต้านทานแรงกดเฉือนมากที่สุด ร่วมกับการออกแบบ Electrode Tip และอุปกรณ์เพื่อใช้สำหรับทดสอบแรงกดเฉือน

Project Members

ธนวัฒน์ แสนทวี
THANAWAT SANTAWEE

#นักศึกษา

Member
เพียงฟ้า กล่ำธัญญา
PHEANGFA KLAMTHANYA

#นักศึกษา

Member
พุทธชาติ เทียมทอง
PUTTACHART THIAMTHONG

#นักศึกษา

Member
กรรณชัย กัลยาศิริ
Kannachai Kanlayasiri

#อาจารย์

Advisor

Vote for this Innovation!

Loading...