Back

Experimental set of Optical Signals Measure and Analyze with OTDR

ชุดทดลองการวัดและวิเคราะห์สัญญาณแสงด้วยเครื่องโอทีดีอาร์

@คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

#KLLC 2024
#Digital Technology
ชุดทดลองการวัดและวิเคราะห์สัญญาณแสงด้วยเครื่องโอทีดีอาร์

Details

 This thesis presents a series of experiments designed to measure and analyze light signals using Optical Time-Domain Reflectometry (OTDR). The objective is to study the measurement and analysis of light signals using OTDR, and to design a more suitable and user-friendly method for measuring and analyzing light signals with OTDR. The experimental setup includes a  layout on the top layer with symbols, and the bottom layer consists of optical fibers representing factors affecting signal loss within the fiber, splicing, fusion splicing, mechanical connections, and connectors. Light signal transmission is simulated using light source equipment, which passes through optical fibers that model the variables of signal loss. These variables include compression, bending, fusion splicing, mechanical splicing, and connector-related factors. The signal transmission is detected using light receivers as light detectors. The experimental kit comprises three worksheets: Power Meter, Standard Mode, and Visualizer Mode. Each worksheet provides clear theoretical explanations and a step-by-step experimental procedure to facilitate a better understanding of light signal measurement and analysis using OTDR. Power Meter Worksheet: This worksheet focuses on the theoretical background and introduces the basic principles of power measurement in light signals. Standard Mode Worksheet: This worksheet guides the user through a standard mode experiment, emphasizing the practical application of OTDR in measuring and analyzing light signals under various conditions. Visualizer Mode Worksheet: The Visualizer Mode worksheet demonstrates the advanced features of OTDR, allowing users to visualize and analyze light signal characteristics more comprehensively. By providing a structured and comprehensive experimental approach, this thesis aims to enhance the understanding of light signal measurement and analysis using OTDR, enabling users to grasp the concepts and visualize the processes involved more effectively.

Objective

หลักสูตรครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาครุศาสตร์วิศวรรมแขนงโทรคมนาคม ชั้นปีที่ 2 มีการจักการเรียนรายวิชาปฏิบัติโทรคมนาคม(TELECOMMUNICATIONS LABORATORY ) ได้มีการทดลองการเชื่อมต่อเส้นใยนำแสงแบบหลอมละลาย(Splice Fiber optic )เป็นการเชื่อมสายที่ขาดหรือหักเข้าหากัน เพื่อทำให้เป็นเนื้อเดียวกันมากที่สุดด้วยเครื่องเข้าหัวเส้นใยนำแสง เพื่อให้การรับ-ส่งสัญญาณแสงสามารถวิ่งผ่านได้เร็วและดีที่สุด โดยที่มีค่าการสูญเสีย (Insertion Loss) น้อยที่สุดซึ่งการที่จะเข้าใจในเรื่องการเกิดการสูญเสียภายในเส้นใยนำแสงเป็นเรื่องที่ยากเพราะเส้นใยนำแสงมีขนาดเล็กทำให้ผู้เรียนไม่สามารถมองภาพการเกิดการสูญเสียภายในเส้นใยนำแสงได้ ซึ่งตัวแปรในการสูญเสียภายในเส้นใยนำแสงนั้นมีหลายตัวแปรดังนั้นการมีสื่อในการจัดการเรียนการสอนที่เป็นชุดทดลองก็จะทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและมองเห็นภาพเพิ่มมากยิ่งขึ้น
              ดังนั้นในโครงงานนี้มีแนวคิดที่จะจัดทำชุดทดลองการวัดและวิเคราะห์สัญญาณแสงด้วยเครื่องโอทีดีอาร์เพื่อให้ผู้เรียนที่ยังไม่มีความเข้าใจในเรื่องการเกิดการสูญเสียภายในเส้นใยนำแสง และยังไม่สามารถจินตนาการถึงตัวแปรในการสูญเสียภายในเส้นใยนำแสงในรูปแบบต่างๆได้นั้นเกิดความเข้าใจและสามารถจินตนาการเกี่ยวกับการสูญเสียภายในเส้นใยนำแสงได้มากยิ่งขึ้น

Project Members

เกษศิกรณ์ มีลือธีรเกียรติ์
KETSIKORN MEELUETEERAKEAD

#นักศึกษา

Member
ศศิประภา พรมมงคล
SASIPRAPA PROMMONGKOL

#นักศึกษา

Member
อมรชัย ชัยชนะ
Amornchai Chaichana

#อาจารย์

Advisor

Vote for this Innovation!

Loading...