Back

Effects of dietary hemp supplementation on swine production performance.

ผลการเสริมกัญชงในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตสุกร

@คณะเทคโนโลยีการเกษตร

#KLLC 2024
#Healthcare and Wellness
ผลการเสริมกัญชงในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตสุกร

Details

The purpose of this experiment was to study the effects of hemp supplementation. On fitness and carcass quality Production in weaned pigs Using 30 weaned pigs, 21 days old, three bloodlines (Large white x Landrace x Pietrain), weighing approximately 4.10 - 5.90 kilograms, divided into 3 experimental groups, 10 pigs per group. The food the pigs received was divided into 3 groups as follows. Group 1 received basal diet. Group 2 received basal diet + 300 ppm hemp. Group 3 received basal diet + 500 ppm hemp. They were raised in a closed greenhouse with temperature control using a water evaporation system. Pigs were raised until they reached an average weight of 100 kilograms in order to study the increase in pig weight. Growth rate per day Total amount of food eaten , Rate of conversion of food to body weight, Cost of food for weight gain.

Objective

   อุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2561 - 2565 ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของไทยลดลง เนื่องจาก ปี พ.ศ. 2561 - 2565 การผลิตสุกรของไทยลดลง เนื่องจากแม่พันธุ์สุกรได้รับความเสียหายจากการระบาดของโรค ASF และเกษตรกรรายย่อยชะลอการเลี้ยงเพื่อลดความเสี่ยง ส่งผลให้ปริมาณการผลิตสุกรและปริมาณการบริโภคสุกรในภาพรวมลดลง เนื่องจากเนื้อสุกรมีราคาปรับตัวสูงขึ้น ผู้บริโภคจึงหันไปบริโภคเนื้อสัตว์ชนิดอื่นที่มีราคาถูกกว่าทดแทน 
   ปัจจัยหลักในการเลี้ยงสุกรคือ ต้นทุนทางด้านอาหารอยู่ที่ประมาณอยู่ที่ 70% ซึ่งในปัจจุบันวัตถุดิบในการนำผสมอาหารมีราคาสูงขึ้น กัญชงจึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่น่าสนใจ สำหรับการนำมาประยุกต์ใช้เป็น feed additive การปลูกกัญชงมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตเส้นใยและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ของกัญชงมีคุณสมบัติทางยาในกลุ่มของสารแคนนาบินอยด์ จัดเป็นอนุพันธุ์อยู่ในกลุ่มของ ไฟโตแคนนาบินอยด์ เทอร์ปีน เทอร์พีนอยด์ และฟลาโวนอยด์ แบ่งกลุ่มของสารออกฤทธิ์เป็น cannidiol (CBD) และ tetrahydrocannabinol (THC) เป็นกลุ่มสารที่สามารถพบได้ในพืชกัญชง เนื่องมูลค่าของกัญชงนั้นคือดอกในระดับอุตสาหกรรมการปลูกกัญชง เพื่อเอาดอกเป็น product ส่วนของพืชที่เหลือจะเป็น byproduct ที่มูลค่าไม่สูงเท่าและเส้นทางในการนำไปใช้ประโยชน์ค่อนข้างน้อย ทางเราเร่งเห็นว่า byproduct มีสารเทอร์ปีน ที่เป็นสารให้กลิ่นและมีประโยชน์ เหมาะแก่การนำมาใช้ประโยชน์ในอาหารสัตว์ เพื่อการเจริญอาหารของสัตว์ และกัญชงในทางการแพทย์ให้ความสำคัญต่ออนุพันธ์แคนนาบินอยด์ของสารสกัดในพืชชนิดนี้เพื่อเป็นยา และแหล่งโภชนะทางเลือก และการใช้ส่วนต่างๆ ของกัญชงเพื่อเป็นอาหารเสริมสำหรับสัตว์ จึงเหมาะสมสำหรับการนำมาเป็น feed additive ในการเลี้ยงสุกรเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเจริญเติบโตและคุณภาพซากของสุกร 
       ดังนั้น ผู้จัดทำจึงมีความสนใจที่จะศึกษา ผลการเสริมกัญชงสดในอาหารสุกรต่อสมรรถภาพการผลิตและ เพื่อศึกษาผลของการเสริมกัญชงในอาหารสุกรต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโต 

Project Members

ชนัญชิดา ดอกกุหลาบ
CHANANCHIDA DOKKULARB

#นักศึกษา

Member
ณัฐดนัย ม่วงอ่อน
NATDAHNAI MAUNGON

#นักศึกษา

Member
ชนาธิป ธรรมการ
Chanathip Thammakarn

#อาจารย์

Advisor

Vote for this Innovation!

Loading...