Back

Graphene Battery

แบตเตอรี่กราฟีน

@คณะวิทยาศาสตร์

#Cluster 2024
#BCG (Bio-Circular-Green Economy)
แบตเตอรี่กราฟีน

Details

“Graphene Battery”, the research teams, which were researchers from King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL), invented and developed the “graphene battery” in Thailand. The Graphene Battery uses graphene oxide and reduced graphene oxide materials for a main part to play a key role in active and conductive materials of battery for storing electric energy. It was used together with carbon from natural agricultural materials of carbon and other cheaper cost battery materials (except lithium material) to invent the electrode part and electrolyte. The highlight of the “graphene battery” is to store more electric charge. And has a faster charging rate and longer lift cycles than traditional batteries, is cheap, not explosive, and therefore safe to use creates added value from the use of domestic agricultural waste. Supporting the BCG (Bio-Circular-Green Economy) economic model, reducing the amount of environmental waste, reducing imports, with high efficiency. But it’s much cheaper than lithium-ion. 

Objective

        กราฟีน (Graphene) เป็นวัสดุอัญรูปหนึ่งในกลุ่มของคาร์บอนที่มีความหนาของแผ่น โครงสร้างเพียงคาร์บอนหนึ่งอะตอม (0.354 nm) ซึ่งวัสดุที่มีความบางและความแข็งแรงมาก แต่กราฟีนยังมีความยืดหยุ่นทำให้สามารถโค้งหรือหักงอได้ นอกจากนี้ กราฟีนยัง สามารถนำไฟฟ้า นำความร้อน และนำส่งอิเล็กตรอนได้เป็นอย่างดี
นอกจากนี้กราฟีนออกไซด์ (Graphene oxide (GO)) และรีดิวซ์กราฟีนออกไซด์ (Reduced graphene oxide (rGO) มีคุณสมบัติบางประการคล้ายคลึงกับกราฟีนและมีคุณสมบัติ พิเศษเพิ่มเติม เช่น สมบัติการยับยั้งเชื้อโรค เชื้อไวรัส และเชื้อแบคทีเรีย นอกจากนี้ยังมีสมบัติการเป็นฉนวนความร้อน, สมบัติการดูดซับน้ำหรือน้ำมัน ทนทานต่อความร้อนสูง และทนทานต่อ สารเคมี ต่างๆ ซึ่ง สมบัติ เหล่า นี้ ทำให้กราฟีนและรีดิวซ์กราฟีนออกไซด์ได้รับความสนใจเป็นเพื่อใช้ในการพัฒนาวัสดุและนวัตกรรมสมัยใหม่ 
นำกราฟีน มาเป็นวัสดุ ผลิต แบตเตอรี่กราฟีน  และอื่นๆ โดยคณะนักวิจัย รศ.ดร.เชษฐา รัตนพันธ์ นักวิจัยและอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้วิจัยและพัฒนา นวัตกรรม “ แบตเตอรี่กราฟีน ” สามารถนำไปใช้กับรถยนต์ไฟฟ้า (EV) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทย และรองรับแนวคิดเศรษฐศาสตร์ บีซีจี (Bio-Circular-Green Economy) เพื่อสังคมที่ยั่งยืน

Project Members

เชรษฐา รัตนพันธ์
Chesta Ruttanapun

#อาจารย์

Member
ชวาลย์ ศรีวงษ์
CHAVAL SRIWONG

#อาจารย์

Member

Vote for this Innovation!

Loading...