Back

A child model for nursing students' practice of listening to the breathing sounds

หุ่นจำลองเด็กสำหรับฝึกฟังเสียงหายใจของนักศึกษาพยาบาล

@วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง

#Highlight 2024
#Healthcare and Wellness
หุ่นจำลองเด็กสำหรับฝึกฟังเสียงหายใจของนักศึกษาพยาบาล

Details

One of nursing students’ auscultation critical skills is listening to a child’s breathing sounds. Previously, learning this skill required a SimBaby, which was insufficient, causing nursing students to lack proficiency. Therefore, a CHIld Model (CHIM), an innovation emulating breathing sounds, has been invented based on Gagné’s learning theory to solve this insufficiency. This article reports on the CHIM invention, consisting of hardware, software, and programming, and its effect on nursing students’ breath-sounds examination skills and satisfaction. First, the CHIM was assessed for quality and satisfaction by experts. The results were good in quality and had the highest satisfaction for application in actual use. Second, the CHIM was assessed for auscultation skills and satisfaction among nursing students. Forty-four junior nursing students participated. Next, they were randomly divided into experimental and control groups. Then, both were taught the same about respiratory problems with the SimBaby, except the experimental group had training with the CHIM. After that, both groups’ auscultation skills and satisfaction in the experimental group were examined. Finally, the statistical analysis showed that after the intervention was applied, learning with the CHIM was better than without, with the highest satisfaction level. As intended, the CHIM can help effectively enhance students’ learning and proficiency. All results were published in an international journal. In addition, The satisfaction results were applied to develop a new version of CHIM, which the CHIM was submitted to register in a petty patent already.

Objective

    ทักษะการฟังเสียงหายใจเด็กเป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักศึกษาพยาบาล เป็นไปได้ยากที่จะให้นักศึกษาพยาบาลฝึกทักษะนี้กับเด็กหรือผู้ป่วยเด็กโดยตรงเนื่องจากอาจเกิดอันตรายได้เพราะทักษณะนี้จำเป็นต้องอาศํยประสบการณ์และความชำนาญเป็นอย่างมาก ที่ผ่านมาโรงเรียนการพยาบาลแห่งหนึ่งใช้หุ่นซึ่งนำเข้าจากต่างประเทศราคาประมาณตัวละ 5 ล้านบาทช่วยในการฝึกทักษะนี้ให้กับนศ. เมื่อเกิดความชำนาญในระดับหนึ่งแล้วจึงจะให้ได้เจอกับผู้ป่วยเด็กตัวจริง เนื่องจากหุ่นมีราคาแพงงานวิจัยนี้จึงได้ประดิษฐ์หุ่นที่ช่วยในการเรียนการสอนนี้ โดยหุ่นสามารถเลียนเสียงหายใจเด็กได้ถึง 6 เสียง สอดคล้องกับบทเรียนของนักศึกษาที่จำเป็นต้องเรียนรู้ หลังจากการนำไปทดลองใช้จริงกับนศ.พยาบาลพบว่าห่นจำลองเด็กนี้ช่วยเพิ่มทักษะดังกล่าวให้แก่นศ.พยาบาลได้เป็นอย่างดีมาก นอกจากนี้นศ.ยังมีความพึงพอใจในการใช้งานหุ่นนี้ในระดับสูงสุด 

    หุ่นนี้อาจไม่สามารถเทียบหุ่นต้นจากต่างประเทศได้ในบางฟังก์ชันการใช้งาน  แต่เนื่องจากหุ่นต้นแบบมีราคาเพียง 20000 บาทเมื่อเทียบกับหุ่นจากต่างประเทศราคา 5 ล้านบาท หุ่นนี้จึงมีราคาถูกกว่ามาก จึงสามารถประดิษฐ์ได้จำนวนมากให้นักศึกษาได้ใช้กันทีละหลายๆคน ไม่จำเป็นต้องรอคิวใช้งานหุ่นจากตปท.อย่างที่แล้วมา เพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้นศ.อย่างเท่าเทียม นอกจากนี้หุ่นที่ประดิษฐ์ขึ้นยังบำรุงรักษาง่ายอีกด้วย

Project Members

จตุพร ทองศรี
Jatuporn Thongsri

#อาจารย์

Member
คมกฤษ จักษุคำ
KOMGRIT JAKSUKAM

#อาจารย์

Member

Vote for this Innovation!

Loading...