Back
A Smart CPR Model for Training
หุ่นจําลองอัจฉริยะสําหรับฝึกฝนการทํา CPR
@วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูง
#Cluster 2024
#Healthcare and Wellness
Details
CPR training kits with evaluation functions are expensive. To make CPR training kits universally accessible, the work creates an Internet of Things evaluation device that can be installed on CPR training manikins that do not have an installed evaluation device for the old model manikins, including the old models having no evaluation systems. This work also develops a web application platform supporting various operating systems. This designed web can display the evaluating results up to 8 devices, including supporting multiple access in the web display at the same time. The IoT evaluating device is built by employing the light-based distance sensor along with a low-cost program-developing board. This device is developed according to standard to the capability of measuring depth of pressing and pressing speed rate and transmitting the evaluating results to the web display. The experimental results of the designed device produce the results abiding by the design.
Objective
ประเทศไทยมีสัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรภายในประเทศอยู่ในระดับต่ํา หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือประเทศไทยมีบุคลากรทางการแพทย์ไม่เพียงพอต่อการให้บริการประชากรภายในประเทศ วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูงตะหนักถึงความไม่เพียงพอน้ี จึงมีความต้องการท่ีจะพัฒนาเพิ่มทักษะให้ ประชาชนทั่วไปมีทักษะทางการแพทย์พ้ืนฐานที่สามารถทําหน้าท่ีแทนบุคลากรทางการแพทย์ได้ ในการนี้ วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตขั้นสูงเล็งเห็นว่า การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (Cardiopulmonary Resuscitation) หรือการทํา CPR เป็นทักษะที่บุคคลทั่วไปควรมี โดยปกติแล้วการทํา CPR จะต้องทํา อย่างถูกต้องเพื่อป้องไม่ให้เกิดความบาดเจ็บต่อผู้ป่วย และเพื่อเพิ่มโอกาสรอดให้กับผู้ป่วย การทํา CPR จึงต้องได้รับฝึกฝนให้ลงแรงในตําแหน่งที่ถูกต้องบนตัวผู้ป่วย รวมไปถึงอัตราการปั้มและความลึกที่กดลง ไปยังตัวผู้ป่วยที่แม่นยําด้วย อย่างไรก็ตามชุดฝึกฝนการทํา CPR มีราคาสูง รวมทั้งการฝึกฝนยังคงต้อง อาศัยอาจารย์ผู้สอนในการแนะนําและประเมินผู้ฝึกให้สามารถปฏิบัติได้ตามการเรียนรู้แบบเน้นผลลัพธ์ (Outcome Based Learning) กระนั้นจํานวนอาจารย์ผู้สอนมีจํากัดจึงทําให้การจัดการฝึกฝนทําได้ในวง แคบ วิทยาลัยนวัตกรรมการผลิตข้ันสูงจึงขอเสนอโครงการสร้างหุ่นจําลอง CPR ต้นทุนต่ําที่สามารถฝึกฝน การทํา CPR ได้ด้วยตนเองเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนําไปใช้ในการฝึกฝน โครงการน้ีจะเป็นการร่วมมือ กับสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทยเพื่อพัฒนาหุ่นจําลองอัจฉริยะ ในการนี้ทางวิทยาลัย นวัตกรรมการผลิตขั้นสูงจะเป็นผู้สร้างหุ่นจําลองอัจฉริยะ และ สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย จะเป็นผู้ทดลองใช้และตรวจสอบมาตรฐานพร้อมทั้งให้ผลตอบรับย้อนกลับเพื่อปรับปรุง ให้ดียิ่งขึ้น
Project Members
อนันตา สินไชย
Ananta Sinchai
#อาจารย์
Member
Vote for this Innovation!
Loading...
Powered By KMITL Innovation Project