Back

Efficacy of mangosteen (Garcinia mangostana) peel hot water extract against Aeromonas hydrophila infection of seabass fingerling (Lates calcarifer)

ประสิทธิภาพสารสกัดเปลือกมังคุดด้วยน้ำร้อนเพื่อต้านทานการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila ในลูกปลากะพงขาว (Lates calcarifer)

@คณะเทคโนโลยีการเกษตร

#KLLC 2024
#BCG (Bio-Circular-Green Economy)
ประสิทธิภาพสารสกัดเปลือกมังคุดด้วยน้ำร้อนเพื่อต้านทานการติดเชื้อ Aeromonas hydrophila ในลูกปลากะพงขาว (Lates calcarifer)

Details

The mangosteen (Garcinia mangostana Linn.) peel hot-water extract (MPE) is proved to be antibacterial potential of seabass fingerling (Lates calcarifer) rearing in freshwater which infected by Aeromonas hydrophila. In vitro study, Minimal Inhibitory Concentration (MIC) of MPE was 25 ppm and the Minimal Bactericidal Concentration (MBC) was 25 ppm. For In vivo, fingerlings were immersed in different concentrations of MPE by 0 ppm (Control), 20 ppm, 40 ppm, and 60 ppm respectively for 7 days with A. hydrophila concentration of 10^8 CFU mL-1. The results showed that the group which received MPE were higher survival rate compare with control group. Hematological parameters revealed that the group that received MPE had significantly increased levels of red blood cells (RBC), white blood cells (WBC), and hemoglobin concentration (Hb) than control group. Moreover, the water quality parameters were not significantly different except ammonia concentration, at 60 ppm MPE concentration of ammonia was the lowest. All results can imply that the MPE is able to improve the antibacterial potential and culture potential for seabass fingerlings.

Objective

ปลากะพงขาวเป็นปลาเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย การเพาะเลี้ยงปลากะพงในแหล่งน้ําจืดมีจํานวนที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากความพร้อมของลูกพันธ์ุปลากะพงและความต้องการของตลาดผู้บริโภคเพิ่มมากขึ้น แต่การเพาะเลี้ยงปลากะพงในน้ําจืดก็ยังมีอุปสรรค คือ การเกิดโรคระบาด โดยเฉพาะเชื้อ Aeromonas hydrophila ที่สร้างความเสียหายต่อปลาน้ําจืดเศรษฐกิจ สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งในปลาขนาดเล็กและขนาดใหญ่ การแก้ปัญหามักใช้ยาปฏิชีวนะและสารเคมี แต่วิธีการดังกล่าวมีข้อเสียหลายประการ รวมถึงความเสี่ยงของเชื้อโรคที่ดื้อยา การสะสมทางชีวภาพ และมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ปัจจุบัน สังคมสมัยใหม่กําลังค้นหาทางเลือกที่เป็นนวัตกรรมใหม่สําหรับการเพิ่มคุณค่าให้กับของเสีย ผู้วิจัยจึงเห็นว่าเปลือกมังคุดเป็นส่วนหนึ่งที่เราสามารถเพิ่มคุณค่าได้ มังคุด (Garcinia mangostana L.) ได้ชื่อว่าเป็นราชินีแห่งผลไม้ มีแพร่หลายในประเทศอินเดีย ประเทศเมียนมาร์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศศรีลังกา และประเทศไทย โดยเปลือกของผลมังคุดสุกมีสารเคมี เช่น สารแซนโทน (Xanthone) เทอร์พีนอยด์ (Terpenoids) และ น้ําตาลจากส่วนต่าง ๆ (เปลือก ผล ท้ังผล เปลือก และใบ) ซึ่งคุณสมบัติทางยาหลายประการ ได้แก่ ต้านเนื้องอก ต้านแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ต้านการอักเสบ ต้านอนุมูลอิสระ เป็นต้นโดยมีการทดลองใช้สารสกัดเปลือกมังคุดในสัตว์น้ํา ผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการสกัดเปลือกมังคุดเพื่อนํามาทดสอบการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย A. hydrophila ในปลากะพงขาว เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดต่อการยับยั้งเชิ้อแบคทีเรียในลูกปลากะพงขาว

Project Members

ศิริทรรศณ์ เทียนคำ
SIRITHAT THIANKHAM

#นักศึกษา

Member
วัฏพร ทองหัวเตย
WATTAPORN THONGHUATOEI

#นักศึกษา

Member
สุวรีย์ กิติเขียว
Suwaree Kitikiew

#อาจารย์

Advisor

Vote for this Innovation!

Loading...